"ว่าด้วย..มณฑลบูรพา..อนุสัญญาโตเกียว..เอกราชไทยสมบูรณ์"...!!!
จากเพจ คุณJenny Low Li Li
ก๊อปจากอ.สมาน ศรีงาม...
"ว่าด้วย..มณฑลบูรพา..อนุสัญญาโตเกียว..เอกราชไทยสมบูรณ์"...!!!
ดินแดนมณฑลบูรพา...มีหนื้อที่ทั้งสิ้น ๖๙,๐๒๙ ตารางกิโลเมตร มี ๔ จังหวัดคือ...
๑. จังหวัดพระตะบอง(กัมพูชา)
๒. จังหวัดพิบูลสงคราม(กัมพูชา)
๓. จังหวัดนครจำปาศักดิ์(ลาว)
๔. จังหวัดลานช้าง(ลาว)
ซึ่งได้จากการต่อสู้กอบกู้แผ่นดินที่สุญเสียไปในกรณี ร.ศ. ๑๑๒ ที่ฝรั่งเศสส่งเรือรบเข้ามาบุกประเทศไทย ๓ ลำ และยึดเอาลาวฝั่งขวา(นครจำปาศักดิ์ และลานช้าง) และยึดเอาเขมรใน(พระตะบอง เสียมราฐ ศรีโสภณ พนมศรก) โดยแลกกับจันทรบุรีและตราดและค่าปรับ ๓ ล้านฟรังค์ ในสมัย ร.๕ โดยบังคับไทยให้ทำสัญญารุกรานคือ.."สนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. ๑๙๐๔ - ๑๙๐๗" ที่ผิดต่อข้อห้ามสูงสุดของกฎหมายระหว่างประเทศ(Juscogen)และเป็นโมฆะ และขัดต่อสนธิสัญญา The Entente Cordiale ค.ศ. ๑๙๐๔ ระหว่างอังกฤษฎกับฝรั่งเศส ที่ตกลงกันว่า.."จะไม่ผนวกเอาดินแดนใดของสยามประเทศมาเป็นของตน"
รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม...ได้อาศัยประชามติของคนไทยทั้งชาติให้ลุกขึ้นต่อสู้ปก ป้องกอบกู้อธิปไตยของชาติ ที่ฝรั่งเศสได้ทำการรุกรานประเทศไทยก่อน...ได้ส่งกองทัพแห่งชาติของไทยเข้า ต่อสู้เอาชนะกองทัพฝรั่งเศสนักล่าอาณานิคมจนตกแม่น้ำโขง ฝรั่งเศสกลัวไทยจะบุกเอาดินแดนลาวฝั่งซ้ายและเขมรนอกคืน จึงเจรจากับญี่ปุ่นขอให้ญี่ปุ่นเป็นผู้ไกล่เกลี่ยระหว่างระหว่างไทยกับ ฝรั่งเศส เพื่อให้ยุติสงครามสร้างสันติภาพ ญี่ปุ่นจึงยื่นข้อเสนอเป็นผู้ไกล่เกลี่ยซึ่งไทยและฝรั่งเศสก็ยินดีตอบรับ และมีการประชุมกันขึ้นที่นคนโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น และได้บรรลุข้อตกลง โดยฝรั่งเศสยินดีคืนแผ่นดินที่รุกรานยึดไปอย่างไม่ถูกต้องในกรณี ร.ศ. ๑๑๒ คืนไทย และทำสัญญาขึ้นคือ.."อนุสัญญาสันติภาพโตเกียว"(Tokyo Peace Convention) ค.ศ. ๑๙๔๑(พ.ศ. ๒๔๘๔) และได้ทำถูกต้องตามการทำกติกาสัญญาตามกฎหมายระหว่างประเทศทุกประการ ทั้งขั้นตอนการเจรจา การลงนาม การให้สัตยาบันโดยรัฐสภาของทั้ง ๒ ประเทศ การแลกเปลี่ยนส้ตยาบัน ดังนั้น จึงไม่มีกติกาสัญญาใดๆจะมาทำลายอนุสัญญาสันติภาพโตเกียว ค.ศ. ๑๙๔๑ และรัฐบาลได้นำเอาดินแดนที่ฝรี่งเศสคืนให้นี้มาจัดเป็นการปกครองเป็น.."มณฑล บูรพา ๔ จังหวัด" คือ...
๑. จังหวัดพระตะบอง(กัมพูชา)
๒. จังหวัดพิบูลสงคราม(กัมพูชา)
๓. จังหวัดนครจำปาศักดิ์(ลาว)
๔. จังหวัดลานช้าง(ลาว)
และรัฐบาลไทยได้สร้าง.."อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ" ขึ้นที่สี่แยกพญาไท หลักกิโลเมตรที่ 0 ถนนพหลโยธิน เพื่อเป็นเกียรติแก่ทหารและตำรวจและพลเรือนที่.."สละชีวิติอุทิศเพื่อชาติ" ที่เสียชิวิตในการต่อสู้กอบกู้เอกราชและอธิปไตยครั้งนี้จากฝรั่งเศสนักล่า อาณานิคม
หมายเหตุ...การเซ็นอนุสัญญาโตเกียว คือ การสารภาพผิดหรือสารภาพบาปของฝรั่งเศสที่กระทำต่อประเทศไทยในกรณี ร.ศ. ๑๑๒ นั่นเอง
ต่อมาสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๒ ฝรั่งเศสเป็นฝ่ายสัมพันธ์มิตรที่ชนะสงคราม กลับใช้อำนาจอิทธิพลมาโกงเอาดินแดนมณฑลบูรพา ๔ จังหวัดไปจากไทยอีก โดยบังคับให้ไทยทำ.."ข้อตกลงวอชิงตัน ค.ศ. ๑๙๔๖"(Washington Accord) แต่รัฐบาลไทยย่อมทำสัญญานี้ แต่ไม่ยอมขอสัตยาบันจากรัฐสภาไทย จึงเป็นโมฆะ และยังขัดต่อสนธิสัญญา The Entente Cordiale ค.ศ. ๑๙๐๔ จึงไม่สามารถจะยกเลิกอนุสัญญาโตเกียวได้สำเร็จ ดังนั้น ดินแดนมณฑลบูรพา ๔ จังหวัดยังเป็นของไทยมาจนกระทั่งบัดนี้ แต่รัฐบาลไทยภายใต้ระบอบเผด็จการรัฐสภาและเผด็จการรัฐประหารที่อ่อนแอ ไม่สามารถจะยกเอาอนุสัญญาโตเกียวขึ้นมายึดถือปฏิบัติ จึงทำให้ไทยต้องพ่ายแพ้ในศาลโลกคดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. ๒๕๐๕ และพ่ายแพ้ในการตีความคำพิพากษา พ.ศ. ๒๕๕๖
แต่...ไทยเมื่อสร้างประชาธิปไตยเสร็จแล้ว โดยพรรคการนำใหม่ประชาชนปฏิวัติสันติ สภาประชาชนปฏิวัติสันติแห่งชาติ ฯลฯ...ก็จะมีอธิปไตยของชาติที่เข้มแข้ง เพราะมีอำนาจอธิปไตยของปวงชนรองรับ ก็จะสามารถยึดถือปฏิบัติอนุสัญญาโตเกียว ค.ศ. ๑๙๔๑ ได้อย่างแน่นอน และก็สามารถแก้ปัญหาเขตแดนไทย-กัมพูชาได้ตกไปอย่างยั่งยืนตลอดไป และจะสามารถสร้างสันติภาพโลกถาวรได้อย่างแน่นอน และจะสามารถแก้ปัญหาเขาพระวิหารและปัญหามณฑลบูรพาได้อย่างแน่นอน และจะสามารถทำให้ไทยมีเอกราชอธิปไตยที่สมบูรณ์ เพราะไม่มี.."สัญญารุกรานของนักล่าอาณานิคมกดหัวประเทศไทยอีกต่อไป..คือ..ยก เลิกสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. ๑๙๐๔ - ๑๙๐๗ และใช้สนธิสัญญาเอกราช..คือ..อนุสัญญาโตเกียว ค.ศ. ๑๙๔๑
คณะวิชาการและยุทธศาสตร์และการจัดตั้ง
พรรคการนำใหม่ประชาชนปฏิวัติสันติ
สภาประชาชนปฏิวัติสันติแห่งชาติ
สถาบันปฏิวัติสันติพุทธอหิงสาธรรมประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
คณะธรรมยาตรากอบกู้รักษาผืนแผ่นดินไทยในกรณีเขาพระวิหาร-มณฑลบูรพา ตามอนุสัญญาโตเกียว ค.ศ. ๑๙๔๑
สมัชชากรรมกรแห่งชาติ
สภาชาวนาปฏิวัติสันติแห่งชาติ
สภาเครือข่ายปฏิรูปท่ีดินแห่งชาติ
สภาสหกรณ์ปฏิวัติสันติแห่งชาติ
สภาบริษัทปฏิวัติสันติแห่งชาติ
ขบวนการศาสนาเพื่อมนุษยชาติ
ขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ
วันที่ ๖ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๕๙
โทร. ๐๘๙-๘๘๖-๐๘๖๘
Credit: Jenny Low Li Li
https://www.facebook.com/1592746451040106/photos/a.1592765604371524.1073741828.1592746451040106/1656462614668489/?type=3&theater
"ว่าด้วย..มณฑลบูรพา..อนุสัญญาโตเกียว..เอกราชไทยสมบูรณ์"...!!!
ดินแดนมณฑลบูรพา...มีหนื้อที่ทั้งสิ้น ๖๙,๐๒๙ ตารางกิโลเมตร มี ๔ จังหวัดคือ...
๑. จังหวัดพระตะบอง(กัมพูชา)
๒. จังหวัดพิบูลสงคราม(กัมพูชา)
๓. จังหวัดนครจำปาศักดิ์(ลาว)
๔. จังหวัดลานช้าง(ลาว)
ซึ่งได้จากการต่อสู้กอบกู้แผ่นดินที่สุญเสียไปในกรณี ร.ศ. ๑๑๒ ที่ฝรั่งเศสส่งเรือรบเข้ามาบุกประเทศไทย ๓ ลำ และยึดเอาลาวฝั่งขวา(นครจำปาศักดิ์ และลานช้าง) และยึดเอาเขมรใน(พระตะบอง เสียมราฐ ศรีโสภณ พนมศรก) โดยแลกกับจันทรบุรีและตราดและค่าปรับ ๓ ล้านฟรังค์ ในสมัย ร.๕ โดยบังคับไทยให้ทำสัญญารุกรานคือ.."สนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. ๑๙๐๔ - ๑๙๐๗" ที่ผิดต่อข้อห้ามสูงสุดของกฎหมายระหว่างประเทศ(Juscogen)และเป็นโมฆะ และขัดต่อสนธิสัญญา The Entente Cordiale ค.ศ. ๑๙๐๔ ระหว่างอังกฤษฎกับฝรั่งเศส ที่ตกลงกันว่า.."จะไม่ผนวกเอาดินแดนใดของสยามประเทศมาเป็นของตน"
รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม...ได้อาศัยประชามติของคนไทยทั้งชาติให้ลุกขึ้นต่อสู้ปก ป้องกอบกู้อธิปไตยของชาติ ที่ฝรั่งเศสได้ทำการรุกรานประเทศไทยก่อน...ได้ส่งกองทัพแห่งชาติของไทยเข้า ต่อสู้เอาชนะกองทัพฝรั่งเศสนักล่าอาณานิคมจนตกแม่น้ำโขง ฝรั่งเศสกลัวไทยจะบุกเอาดินแดนลาวฝั่งซ้ายและเขมรนอกคืน จึงเจรจากับญี่ปุ่นขอให้ญี่ปุ่นเป็นผู้ไกล่เกลี่ยระหว่างระหว่างไทยกับ ฝรั่งเศส เพื่อให้ยุติสงครามสร้างสันติภาพ ญี่ปุ่นจึงยื่นข้อเสนอเป็นผู้ไกล่เกลี่ยซึ่งไทยและฝรั่งเศสก็ยินดีตอบรับ และมีการประชุมกันขึ้นที่นคนโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น และได้บรรลุข้อตกลง โดยฝรั่งเศสยินดีคืนแผ่นดินที่รุกรานยึดไปอย่างไม่ถูกต้องในกรณี ร.ศ. ๑๑๒ คืนไทย และทำสัญญาขึ้นคือ.."อนุสัญญาสันติภาพโตเกียว"(Tokyo Peace Convention) ค.ศ. ๑๙๔๑(พ.ศ. ๒๔๘๔) และได้ทำถูกต้องตามการทำกติกาสัญญาตามกฎหมายระหว่างประเทศทุกประการ ทั้งขั้นตอนการเจรจา การลงนาม การให้สัตยาบันโดยรัฐสภาของทั้ง ๒ ประเทศ การแลกเปลี่ยนส้ตยาบัน ดังนั้น จึงไม่มีกติกาสัญญาใดๆจะมาทำลายอนุสัญญาสันติภาพโตเกียว ค.ศ. ๑๙๔๑ และรัฐบาลได้นำเอาดินแดนที่ฝรี่งเศสคืนให้นี้มาจัดเป็นการปกครองเป็น.."มณฑล บูรพา ๔ จังหวัด" คือ...
๑. จังหวัดพระตะบอง(กัมพูชา)
๒. จังหวัดพิบูลสงคราม(กัมพูชา)
๓. จังหวัดนครจำปาศักดิ์(ลาว)
๔. จังหวัดลานช้าง(ลาว)
และรัฐบาลไทยได้สร้าง.."อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ" ขึ้นที่สี่แยกพญาไท หลักกิโลเมตรที่ 0 ถนนพหลโยธิน เพื่อเป็นเกียรติแก่ทหารและตำรวจและพลเรือนที่.."สละชีวิติอุทิศเพื่อชาติ" ที่เสียชิวิตในการต่อสู้กอบกู้เอกราชและอธิปไตยครั้งนี้จากฝรั่งเศสนักล่า อาณานิคม
หมายเหตุ...การเซ็นอนุสัญญาโตเกียว คือ การสารภาพผิดหรือสารภาพบาปของฝรั่งเศสที่กระทำต่อประเทศไทยในกรณี ร.ศ. ๑๑๒ นั่นเอง
ต่อมาสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๒ ฝรั่งเศสเป็นฝ่ายสัมพันธ์มิตรที่ชนะสงคราม กลับใช้อำนาจอิทธิพลมาโกงเอาดินแดนมณฑลบูรพา ๔ จังหวัดไปจากไทยอีก โดยบังคับให้ไทยทำ.."ข้อตกลงวอชิงตัน ค.ศ. ๑๙๔๖"(Washington Accord) แต่รัฐบาลไทยย่อมทำสัญญานี้ แต่ไม่ยอมขอสัตยาบันจากรัฐสภาไทย จึงเป็นโมฆะ และยังขัดต่อสนธิสัญญา The Entente Cordiale ค.ศ. ๑๙๐๔ จึงไม่สามารถจะยกเลิกอนุสัญญาโตเกียวได้สำเร็จ ดังนั้น ดินแดนมณฑลบูรพา ๔ จังหวัดยังเป็นของไทยมาจนกระทั่งบัดนี้ แต่รัฐบาลไทยภายใต้ระบอบเผด็จการรัฐสภาและเผด็จการรัฐประหารที่อ่อนแอ ไม่สามารถจะยกเอาอนุสัญญาโตเกียวขึ้นมายึดถือปฏิบัติ จึงทำให้ไทยต้องพ่ายแพ้ในศาลโลกคดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. ๒๕๐๕ และพ่ายแพ้ในการตีความคำพิพากษา พ.ศ. ๒๕๕๖
แต่...ไทยเมื่อสร้างประชาธิปไตยเสร็จแล้ว โดยพรรคการนำใหม่ประชาชนปฏิวัติสันติ สภาประชาชนปฏิวัติสันติแห่งชาติ ฯลฯ...ก็จะมีอธิปไตยของชาติที่เข้มแข้ง เพราะมีอำนาจอธิปไตยของปวงชนรองรับ ก็จะสามารถยึดถือปฏิบัติอนุสัญญาโตเกียว ค.ศ. ๑๙๔๑ ได้อย่างแน่นอน และก็สามารถแก้ปัญหาเขตแดนไทย-กัมพูชาได้ตกไปอย่างยั่งยืนตลอดไป และจะสามารถสร้างสันติภาพโลกถาวรได้อย่างแน่นอน และจะสามารถแก้ปัญหาเขาพระวิหารและปัญหามณฑลบูรพาได้อย่างแน่นอน และจะสามารถทำให้ไทยมีเอกราชอธิปไตยที่สมบูรณ์ เพราะไม่มี.."สัญญารุกรานของนักล่าอาณานิคมกดหัวประเทศไทยอีกต่อไป..คือ..ยก เลิกสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. ๑๙๐๔ - ๑๙๐๗ และใช้สนธิสัญญาเอกราช..คือ..อนุสัญญาโตเกียว ค.ศ. ๑๙๔๑
คณะวิชาการและยุทธศาสตร์และการจัดตั้ง
พรรคการนำใหม่ประชาชนปฏิวัติสันติ
สภาประชาชนปฏิวัติสันติแห่งชาติ
สถาบันปฏิวัติสันติพุทธอหิงสาธรรมประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
คณะธรรมยาตรากอบกู้รักษาผืนแผ่นดินไทยในกรณีเขาพระวิหาร-มณฑลบูรพา ตามอนุสัญญาโตเกียว ค.ศ. ๑๙๔๑
สมัชชากรรมกรแห่งชาติ
สภาชาวนาปฏิวัติสันติแห่งชาติ
สภาเครือข่ายปฏิรูปท่ีดินแห่งชาติ
สภาสหกรณ์ปฏิวัติสันติแห่งชาติ
สภาบริษัทปฏิวัติสันติแห่งชาติ
ขบวนการศาสนาเพื่อมนุษยชาติ
ขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ
วันที่ ๖ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๕๙
โทร. ๐๘๙-๘๘๖-๐๘๖๘
Credit: Jenny Low Li Li
https://www.facebook.com/1592746451040106/photos/a.1592765604371524.1073741828.1592746451040106/1656462614668489/?type=3&theater
พระฉายาลักษณ์ของเจ้าสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์
เผยแพร่เมื่อ 16 พฤศจิกายน 1937
(พ.ศ. 2480) โดย
AFP PHOTO / FRANCE PRESSE VOIR / Bronberger
เจ้าสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ เป็น กษัตริย์กัมพูชา
ในสมัยที่ยังเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส
ครองราชย์ตั้งแต่ 9 สิงหาคม 1927
(พ.ศ. 2470) – 24 เมษายน 1941 (พ.ศ. 2484)
พระองค์ทรงนิยมมี พระสนม นางรำ
แวดล้อม แต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ไม่นาน
พระองค์ได้สั่งปลดนางสนมออกจากตำแหน่ง
ถึง 100 คน จากกว่า 200 คน
เพื่อลดรายจ่ายของราชสำนัก
เมื่อเดือนเมษายน 1938 (พ.ศ. 2481)
ในอดีตพระองค์มีพระสนม ที่เป็นนางรำชาวไทย
หนึ่งพระองค์ คือ นางสาวแพน เรืองนนท์
ภายหลังถูกตั้งเป็นเจ้าจอมสีสุวัตถิ์ อำไพพงศ์
(Chao Chom Srivasti Amphaibongse)
ต่อมาเธอได้ถูกออกจากราชสำนัก
โดยทางกงสุลฝรั่งเศสในไทย
ได้ออกแถลงการณ์ฉบับที่ 2 ความว่า
"กษัตริย์สีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ แห่งกัมพูชา
ทรงไม่พอพระพระทัยและปฏิเสธข้อมูล
ที่คลาดเคลื่อนและไร้สาระ
จากการให้สัมภาษณ์ของบิดา
ของนางสาวแพน จึงทรงบัญชาให้
ส่งตัวนางสาวแพนกลับกรุงเทพโดยทันที"
โดยนางสาวแพนได้กลับมาในวันรุ่งขึ้น
และไม่มีโอกาสได้กลับไปยัง
ราชสำนักกัมพูชาอีกเลย
หลังจากพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์
เสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2484
องค์รัชทายาท คือ
สมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ พระราชโอรส
ไม่ได้เป็นกษัตริย์สืบต่อมา
เนื่องจากวิชีฝรั่งเศส ซึ่งเป็นผู้ปกครองเขมร
อยู่ในขณะนั้น ได้คัดเลือกให้
หม่อมราชวงศ์นโรดม สีหนุ
ซึ่งเป็นพระนัดดาที่ประสูติจาก
สมเด็จพระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์
กุสุมะ นารีรัตน์ สิริวัฒนา พระราชธิดาของพระองค์
และเป็นเหลนของพระกรุณา
พระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์
พระเจ้ากรุงกัมพูชาธิบดีขึ้นครองราชย์แทน
เนื่องจากฝรั่งเศสเห็นว่าบังคับบัญชาง่ายกว่า
ทำให้การสืบราชสันตติวงศ์
กลับไปยังสายของพระกรุณา
พระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์
พระเจ้ากรุงกัมพูชาธิบดี หรือ
นักองราชาวดีอีกครั้งหนึ่ง
Credit: Jenny Low Li Li
สุริยา มาดีกุล
เผยแพร่เมื่อ 16 พฤศจิกายน 1937
(พ.ศ. 2480) โดย
AFP PHOTO / FRANCE PRESSE VOIR / Bronberger
เจ้าสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ เป็น กษัตริย์กัมพูชา
ในสมัยที่ยังเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส
ครองราชย์ตั้งแต่ 9 สิงหาคม 1927
(พ.ศ. 2470) – 24 เมษายน 1941 (พ.ศ. 2484)
พระองค์ทรงนิยมมี พระสนม นางรำ
แวดล้อม แต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ไม่นาน
พระองค์ได้สั่งปลดนางสนมออกจากตำแหน่ง
ถึง 100 คน จากกว่า 200 คน
เพื่อลดรายจ่ายของราชสำนัก
เมื่อเดือนเมษายน 1938 (พ.ศ. 2481)
ในอดีตพระองค์มีพระสนม ที่เป็นนางรำชาวไทย
หนึ่งพระองค์ คือ นางสาวแพน เรืองนนท์
ภายหลังถูกตั้งเป็นเจ้าจอมสีสุวัตถิ์ อำไพพงศ์
(Chao Chom Srivasti Amphaibongse)
ต่อมาเธอได้ถูกออกจากราชสำนัก
โดยทางกงสุลฝรั่งเศสในไทย
ได้ออกแถลงการณ์ฉบับที่ 2 ความว่า
"กษัตริย์สีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ แห่งกัมพูชา
ทรงไม่พอพระพระทัยและปฏิเสธข้อมูล
ที่คลาดเคลื่อนและไร้สาระ
จากการให้สัมภาษณ์ของบิดา
ของนางสาวแพน จึงทรงบัญชาให้
ส่งตัวนางสาวแพนกลับกรุงเทพโดยทันที"
โดยนางสาวแพนได้กลับมาในวันรุ่งขึ้น
และไม่มีโอกาสได้กลับไปยัง
ราชสำนักกัมพูชาอีกเลย
หลังจากพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์
เสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2484
องค์รัชทายาท คือ
สมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ พระราชโอรส
ไม่ได้เป็นกษัตริย์สืบต่อมา
เนื่องจากวิชีฝรั่งเศส ซึ่งเป็นผู้ปกครองเขมร
อยู่ในขณะนั้น ได้คัดเลือกให้
หม่อมราชวงศ์นโรดม สีหนุ
ซึ่งเป็นพระนัดดาที่ประสูติจาก
สมเด็จพระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์
กุสุมะ นารีรัตน์ สิริวัฒนา พระราชธิดาของพระองค์
และเป็นเหลนของพระกรุณา
พระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์
พระเจ้ากรุงกัมพูชาธิบดีขึ้นครองราชย์แทน
เนื่องจากฝรั่งเศสเห็นว่าบังคับบัญชาง่ายกว่า
ทำให้การสืบราชสันตติวงศ์
กลับไปยังสายของพระกรุณา
พระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์
พระเจ้ากรุงกัมพูชาธิบดี หรือ
นักองราชาวดีอีกครั้งหนึ่ง
Credit: Jenny Low Li Li
สุริยา มาดีกุล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น