เสาวลักษณ์ กัลยา
"ทบทวนการเคลื่อนไหวของม๊อบ กปปส."
1.ทบทวนการเคลื่อนไหวของ กปปส. เรามาดู...มาทบทวนกันอีกทีถึงการเคลื่อนไหวของกปปส.ที่ยาวนานและเสียเงินเสียทองไปมากโดยเฉพาะข้อเสนอที่สาคัญคือ”การปฏิวัติประชาชน”หรือ”สภาประชาชน”ซึ่งเป็นข้อเสนอที่มวลชนขานรับมากกมายนับเป็นการเคลื่อนมวลชนขนาดใหญ่ครั้งหนึ่งในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่มีประชาชนทุกหมู่เหล่า ทุกสาขาอาชีพ เข้าร่วม และผลสรุปสุดท้ายทหารก็ออกมาทำรัฐประหารเป็นไปตามผู้นำกปปส.ต้องการ แสดงว่าชนะ เมื่อชนะแล้วทำไมไม่ทาตามที่นำเสนอต่อมวลชนไว้ คือ”การปฏิวัติประชาชน” หรือ “สภาประชาชน” กลับทิ้งไปเสียไม่มีการพูดถึงเลย แม้ว่าในระยะหลังการเข้าไปจัดการต่างๆเกี่ยวกับรูปแบบการปกครองซึ่งเป็นคนของกปปส.แทบทั้งสิ้นในสภาต่างๆของ คสช. ก็ไม่มีหลักการของสภาประชาชนที่เคยนำเสนอไว้แม้แต่น้อย พากันเงียบ มันเกิดอะไรขึ้นเพราะในขณะที่ชุมนุมผู้นำก็เห็นชัดเจนว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องที่มวลชนต้องการ ตามความเห็นของข้าพเจ้า ที่ผู้นาเสนอเรื่องนี้ขึ้นมาและประชาชนก็ขานรับแต่บรรดาผู้นำยังไม่ได้ไปศึกษาถึงหลักการต่างๆของการเกิด”สภาประชาชน” แต่เมื่อเขาไปศึกษาระดับหนึ่งแล้ว ปรากฏว่าที่”ตัวเองเสนอไปนั้นเป็นเรื่องของประชาธิปไตยที่แท้จริงถ้าทำเต็มรูปแล้วอำนาจก็จะเป็นของประชาชน เกิดกลัวขึ้นมาในหมู่ผู่นำว่าจะเป็นประชาธิปไตยจริงๆ หนีทิ้งกันหมด ไม่ยอมพูดถึงอีกเลย ทำให้ข้าพเจ้านึกถึงนิทานจีนเรื่องหนึ่ง ชื่อว่า”เหลาเย่ผู้รักมังกร” มีว่า มีชายคนหนึ่งชื่อเหลาเย่ มีอาชีพเขียนรูปมังกรขายและใครๆก็รู้ว่านายเหลาเย่ผู้นี้รักมังกรมาก วันๆก็พรรณถึงแต่มังกรว่าศักดิ์สิทธิ์อย่างนั้นอย่างนี้ นั่งเขียนรูปมังกรทั้งวัน บูชารูปมังกร(คนจีนับถือมังกรเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์เป็นเทพ) รู้ไปถึงเทพมังกรตัวจริงว่านายเหลาเย่รักมังกรมาก ก็ไปปรากฏตัวให้นายเหลเย่เห็น ปรากฏว่านายเหลาเย่เห็นมังกรตัวจริง วิ่งหนีเพราะกลัว ผมก็เลยเปรียบเทียบบรรดาผู้นาของกปปส.แทบจะทั้งหมดว่าเป็น”นายเหลาเย่ผู้รักมังกร” เพราะพอรู้ว่าสิ่งที่ตัวเองเสนอมันคือ”สภาปฏิวัติแห่งชาติ”เป็นเรื่องการปฏิวัติประชาธิปไตย เป็นเรื่องการเคลื่อนไหวเพื่อความเป็นประชาธิปไตย(Democratization) ของลัทธิประชาธิปไตยที่แท้จริง ทำเต็มรูปประเทศก็จะเป็นประชาธิปไตยที่อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนจริงๆ ก็เลยกลัวว่าประเทศจะเป็นประชาธิปไตยตัดเงื่อนไขการกดขี่ขูดรีดของกลุ่มทุนผูกขาดไทยที่ตนรับใช้อยู่ก็เลยเกิดความกลัว ก็เลยละทิ้งกันหมด...เหมือเหลาเย่ผู้รักมังกร เจอของจริงกลับวิ่งหนี ...
Cr:ครูทองคา วิรัตน์ email:thongkrm_virut@yahoo.com
2.ต้นฉบับ'สภาปฏิวัติแห่งชาติ' ต้นฉบับ'สภาปฏิวัติแห่งชาติ' คอลัมน์ : มนุษย์สองหน้า โดยแคน สาริกา “หนังสือพิมพ์คมชัดลึก จนถึงวันนี้ ยังไม่เห็น "กำนันสุเทพ" พูดให้ชัดเสียทีว่า "การปฏิวัติประชาชน" หรือ "สภาประชาชน" คืออะไรกันแน่ และสภาที่ว่านี้ จะลอยมาจากฟ้าหรืออย่างไร? รู้กันบ้างไหมว่า มีต้นตำรับ "ปฏิวัติสันติ" มาจากใคร? กำนันสุเทพ น่าจะให้คนใกล ้ชิดเข้าไปที่เพจ "สภาประชาชนปฏิวัติสันติแห่งชาติ" ซึ่งดำเนินงานโดยสานุศิษย์ของ "ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร" อดีต ส.ส.สุราษฎร์ธานี และอดีตกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.)
3.ย้อนไปเมื่อ 28-29 เมษายน 2530 มีการประชุมผู้แทนประชาชนทั่วประเทศ ที่โรงแรมเอเชีย และโรงแรมรัตนโกสินทร์ เพื่อตั้ง "สภาปฏิวัติแห่งชาติ" ขึ้น เป็นการสนับสนุน "การปฏิวัติประชาธิปไตย" ของประเสริฐ ทรัพย์สุนทร 31 พฤษภาคม 2532 หลังจากมีคำสั่งสภาปฏิวัติแห่งชาติที่ 1/2532 เรื่องการโอนอำนาจจำกรัฐสภามาสู่สภาปฏิวัติแห่งชาติและแถลงการณ์สภาปฏิวัติแห่งชำติ โดยให้รัฐบาลชาติชายหยุดการปฏิบัติหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน และสมาชิกรัฐสภาก็หยุดทาหน้ำที่เช่นกัน ต่อมา รัฐบาลชาติชาย ได้ดำเนินคดี"ประเสริฐ" กับพวกรวม 14 คน ด้วยข้อหาทำลายควำมมั่นคงแห่งชาติซึ่ง "อาจารย์ประเสริฐ" แถลงว่า ถ้าเรื่องสภาปฏิวัติแห่งชาติเป็นความผิด เขาจะขอรับผิดแต่ผู้เดียว สู้คดีกันมายาวนาน...11 สิงหาคม 2537 ศาลอุทธรณ์ได้พิพากษายกฟ้องคดีสภาปฏิวัติตามศาลชั้นต้น เป็นอันว่าคดีถึงที่สุด จำเลยทุกคนพ้นข้อหา สำหรับหลักคิดในการปฏิวัติสันติของอาจารย์ประเสริฐนั้น ต้องปฏิวัติความคิดให้เข้าใจว่า "ระบอบปัจจุบันนี้คือระบอบเผด็จการรัฐสภา ไม่ใช่ระบอบประชาธิปไตย" และรุกทางการเมืองด้วยให้ชนะด้วย "ลัทธิประชาธิปไตย" ไม่ใช่ลัทธิรัฐธรรมนูญ แม้อาจารย์ประเสริฐจะเสียชีวิตไปแล ้ว บรรดาลูกศิษย์ก็เผยแพร่แนวคิดอุดมการณ์ต่อไป ด้วยความเชื่อมั่นใจว่า "นโยบายหลักและนโยบายเร่งด่วนเฉพาะหน้าของสภาปฏิวัติแห่งชาติ ซึ่งได้ผ่านกำรพิสูจน์จากศาลสถิตยุติธรรมมาแล ้วว่า เป็นนโยบายที่ถูกต้องตามกฎหมายทุกประการเมื่อ พ.ศ.2536 ซึ่งแปรมาจากนโยบาย 66/2523" หน้าตาของ "สภาประชาชนปฏิวัติสันติแห่งชาติหรือสภาปฏิวัติแห่งชำติ หรือสภาประชาธิปไตยแห่งชาติ" จะประกอบด้วย ผู้แทนเขตจากทุกอำเภอ (อำเภอละ 1 คน) ผู้แทนอาชีพจากทุกสาขาอาชีพ (อำเภอละ 1 คน) รวม 1 อำเภอมีผู้แทน 2 ประเภท 2 คน และมีผู้แทนทั่วไปที่อาจจะจัดอยู่ในผู้แทน 2 ประเภทนี้ นอกจากนี้ ต้องโอนเอา ส.ส.และ ส.ว. 700 คนในรัฐสภาปัจจุบันนี้ มาอยู่ในสภาประชาชนปฏิวัติฯ ด้วย ในฐานะผู้แทนชนชั้นสูง ส่วนผู้แทนชนชั้นกลางและชนชั้นล่างเอามาจากทุกชนชั้น ทุกเขต ทุกอาชีพ ทุกกลุ่ม ทุกสี ทุกหมู่เหล่า อย่างกว้างขวางและทั่วถึงและปราศจากอคติโดยสิ้นเชิง สมาชิกสภาประชาชนปฏิวัติฯ ประมาณ 3,000-5,000 คน ไม่ใช่ทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญ แต่ทำหน้ำที่สร้างประชาธิปไตยในการปกครองแผ่นดิน
4.ที่สำคัญ ต้องมี "รัฐบาลเฉพาะกาล" ในระยะเปลี่ยนผ่านของประชาชน ให้รัฐบาลประจำการชนิดเก่าของระบอบเผด็จการสิ้นสุดลง อาจารย์ประเสริฐถึงแก่กรรมปลายปี 2537 "สมาน ศรีงาม" ก็เป็นผู้สืบทอด โดยยึดแนวทางดังกล่าวข้างต ต้นมาโดยตลอด "สมาน'" ยังยืนหยัดทำงานด้านทฤษฎีติดอำวุธทางปัญญาให้แก่ประชาชน ให้เข้าใจความหมายของคำว่า "ปฏิวัติสันติ" เพื่อสร้างประชาธิปไตยอย่างสันติ ที่ผ่านมา หลายคนอาจหยามหยันแนวคิดของสมาน ศรีงาม แต่ฟังจากปากของ "นักวิชาการ" ที่ปรึกษากำนันสุเทพ ล้วนแต่เสนอโมเดลการปฏิวัติประชาชน และสภาประชาชน ไม่แตกต่างไปจากความคิดของอาจารย์ประเสริฐ จะต่างกันก็ตรงที่คนพูดเรื่องสภาประชาชนบนเวทีกำนันสุเทพ สวมหัวโขนนักวิชาการ มีคำว่า ดอกเตอร์ นำหน้ำ กลับมีมวลชนจำนวนมากเป่านกหวีดขานรับเสียงดังอึงมี่ ผิดกับ "สมาน" พูดเรื่องปฏิวัติสันติหรือสภาประชาชนทางทีวีดาวเทียมช่องสุวรรณภูมิทุกค่ำคืน กลับมีคนมองว่า ตลก ไร้สาระ นี่แหละสังคมไทย
(จากหนังสือพิมพ์คมชัดลึกฉบับวันที่ 24-04-2558)
edit : thongkrm_virut@yahoo.com
-------------------------------
สภาประชาชนฯของแท้อยู่ที่นี่ คือ...
๑. ต้นกำเนิดที่มาของสภาประชาชนฯ...
๑.๑)มาจาก.."#สภากรรมการองคมนตรี" ของ ร.๗ ก่อน พ.ศ. ๒๔๗๕
๑.๒)มาจาก.."#สภาปฏิวัติแห่งชาติ"..ของขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๗ จนถึงปัจจุบัน และพรรคแรงงานประชาธิปไตย
๑.๓)มาเป็น.."#สภาประชาชนปฏิวัติสันติแห่งชาติ" ของขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ หรือพรรคการนำใหม่ประชาชนปฏิวัติสันติ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๗ ปัจจุบันสู่อนาคต
๒. มาจาก.."ทฤษฎีอำนาจรัฐคู่แบบประชาธิปไตย"(Democratic Dual Power) คือ การโอนอำนาจอย่างสันติ(Peaceful Tranformation of Power) ซึ่งมี ๓ ระดับคือ...
- โอนอำนาจทางหลักการ
- โอนอำนาจทางการเมือง
- โอนอำนาจทางกฎหมาย
๓. มาจากปรัชญา.."เอกภาพของด้านตรงข้าม"(Unity of the Opposite) ซึ่งอยู่ใน.."เอกภาพของความแตกต่างสมบูรณ์"(Unity of Abolute Diversity)คือ...
- เอกภาพ..คือ..สัจธรรมสัมบูรณ์(Abosolute Truth) คือ..ถูกต้องอย่างปราศจากเงื่อนไข
- ความขัดแย้ง..คือ..สัจธรรมสัมพัทธ์(Relative Truth) คือ..ถูกต้องอย่างประกอบด้วยเงื่อนไข
- เอกภาพ..คือ..ความไม่ขัดแย้ง
- สองด้านตรงข้ามกัน..คือ..ความขัดแย้ง
- เอกภาพ..คือ..อสังขตธรรม
- ความขัดแย้ง..คือ..สังขตธรรม
- เอกภาพ..คือ..สุญญตา(อนัตตา)อสังขตธรรมซึ่งเป็นผู้ถือดุลสูงสุด
- วัตถุอยู่ในความเคลื่อนไหว
- ความเคลื่อนไหวอยู่ในสุญญตา(ความว่าง)
- พื้นที่(Space)และกาลเวลา(Time)อยู่ในสุญญตา
- ความไม่ขัดแย้ง..ครอบงำ..ความขัดแย้ง
- สังขตธรรม..เกิดจาก..อสังขตธรรม
- ความมี..เกิดจาก..ความไม่มี
- ๑ ๒ ๓ ๔ ๕....เกิดจาก..ความไม่มี หรือสุญญตา
- ความขัดแย้ง..เกิดจาก..เอกภาพหรือความไม่ขัดแย้งหรือสุญญตา
๔. มาจาก..จุดยืน(Standpoint)ในระบบความคิดคือ...
- จุดยืนเห็นแก่ตัว..คือ..ปุถุชน..คือ..อัตตาธิปไตย
- จุดยืนเห็นแก่ส่วนรวม..คือ..กันยาณชน หรือประชาชน..คือ..โลกาธิปไตย
- จุดยืนสุญญตา..คือ..อริยบุคคล..คือ..ธรรมาธิปไตย
๕. มาจาก..อุดมการลัทธิประชาธิปไตยสมบูรณ์(Ideology) ที่ประกอบด้วย...
- ทฤษฎีทางโมกษธรรม นั่นคือ.."อริยสัจธรรม"(Noble Truth)
- ทฤษฎีทางปรัชญา..คือ..เอกภาพของด้านตรงข้ามในเอกภาพของความแตกต่าง สัจธรรม(Truth)
- ทฤษฎีทางรัฐศาสตร์..คือ..อธิปไตยของปวงชนที่มีกรรมกรกับนายทุนชี้ขาด
- ทฤษฎีทางเศรษฐศาสต์..คือ..เศรษฐกิจเสรี รัฐวิสาหกิจ เศรษฐกิจพอเพียง
๖. มาจาก..อุดมคติสังคมประชาธิปไตย(Ideal) คือ...
..."สังคมประชาธิปไตยสมบูรณ์"(Noble Democratic Society)
๗. มาจากแนวทางประชาธิปไตยของพระมหากษัตริย์ ร.๕ ร.๖ ร.๗ และนโยบาย ๖๖/๒๓ หรือการปฏิวัติประชาธิปไตยอย่างสันติ หรือการปฏิวัติสันติ(Peaceful Revolution) ตามหลักพุทธอหิงสาธรรม
๘. มาจากนโยบายสร้างประชาธิปไตย ทั้งนโยบายหลักและนโยบายเร่งด่วนฉะเพราะหน้า ทั้งด้านการเมืองการปกครอง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม-วัฒนธรรม ด้านการทหาร ด้านการต่างประเทศ ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี่ ฯลฯ
๙. มีผู้แทนเขตพื้นที่(Constituency)จากทุกเขตและทุกอำเภอ ที่มาจากความเป็นชาติด้านดินแดนร่วมกัน
๑๐. มีผู้แทนอาชีพ(Walk of Life) มาจากทุกสาขาอาชีพ ที่มาจากความเป็นชาติด้านเศรษฐกิจร่วมกัน
๑๑. มีผู้แทนทั่วไป(General) ที่มาจาก...
- ผู้แทนการเมือง
- ผู้แทนภาษา
- ผู้แทนวัฒนธรรม
- ฯลฯ
๑๒. อำนาจอธิปไตยของปวงชน(Sovereignty of the people) หรือ ระบอบประชาธิปไตย หรือมรรควิธีของการปกครองของประชาชน ซึ่งตรงข้ามกับมรรควิธีของการปกครองของคนส่วนน้อย หรืออำนาจอธิปไตยของคนส่วนน้อย หรือระบอบเผด็จการ
๑๓. ผลประโยชน์และความผาสุกของปวงชนคนทั้งหมด
คณะวิชาการและยุทธศาสตร์และการจัดตั้ง
พรรคการนำใหม่ประชาชนปฏิวัติสันติ
สภาประชาชนปฏิวัติสันติแห่งชาติ
สถาบันปฏิวัติสันติพุทธอหิงสาธรรมประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
คณะธรรมยาตรากอบกู้รักษาผืนแผ่นดินไทยในกรณีเขาพระวิหาร-มณฑลบูรพา ตามอนุสัญญาโตเกียว ค.ศ. ๑๙๔๑
สมัชชากรรมกรแห่งชาติ
สภาชาวนาปฏิวัติสันติแห่งชาติ
สภาเครือข่ายปฏิรูปที่ดินแห่งชาติ
ขบวนการศาสนาเพื่อมนุษยชาติ
ขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ
วันที่ ๓๐ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๕๙
โทร. ๐๘๙-๘๘๖-๐๘๖๘
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=465996460227647&set=a.147973522029944.1073741825.100004518901772&type=3&theater
1.ทบทวนการเคลื่อนไหวของ กปปส. เรามาดู...มาทบทวนกันอีกทีถึงการเคลื่อนไหวของกปปส.ที่ยาวนานและเสียเงินเสียทองไปมากโดยเฉพาะข้อเสนอที่สาคัญคือ”การปฏิวัติประชาชน”หรือ”สภาประชาชน”ซึ่งเป็นข้อเสนอที่มวลชนขานรับมากกมายนับเป็นการเคลื่อนมวลชนขนาดใหญ่ครั้งหนึ่งในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่มีประชาชนทุกหมู่เหล่า ทุกสาขาอาชีพ เข้าร่วม และผลสรุปสุดท้ายทหารก็ออกมาทำรัฐประหารเป็นไปตามผู้นำกปปส.ต้องการ แสดงว่าชนะ เมื่อชนะแล้วทำไมไม่ทาตามที่นำเสนอต่อมวลชนไว้ คือ”การปฏิวัติประชาชน” หรือ “สภาประชาชน” กลับทิ้งไปเสียไม่มีการพูดถึงเลย แม้ว่าในระยะหลังการเข้าไปจัดการต่างๆเกี่ยวกับรูปแบบการปกครองซึ่งเป็นคนของกปปส.แทบทั้งสิ้นในสภาต่างๆของ คสช. ก็ไม่มีหลักการของสภาประชาชนที่เคยนำเสนอไว้แม้แต่น้อย พากันเงียบ มันเกิดอะไรขึ้นเพราะในขณะที่ชุมนุมผู้นำก็เห็นชัดเจนว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องที่มวลชนต้องการ ตามความเห็นของข้าพเจ้า ที่ผู้นาเสนอเรื่องนี้ขึ้นมาและประชาชนก็ขานรับแต่บรรดาผู้นำยังไม่ได้ไปศึกษาถึงหลักการต่างๆของการเกิด”สภาประชาชน” แต่เมื่อเขาไปศึกษาระดับหนึ่งแล้ว ปรากฏว่าที่”ตัวเองเสนอไปนั้นเป็นเรื่องของประชาธิปไตยที่แท้จริงถ้าทำเต็มรูปแล้วอำนาจก็จะเป็นของประชาชน เกิดกลัวขึ้นมาในหมู่ผู่นำว่าจะเป็นประชาธิปไตยจริงๆ หนีทิ้งกันหมด ไม่ยอมพูดถึงอีกเลย ทำให้ข้าพเจ้านึกถึงนิทานจีนเรื่องหนึ่ง ชื่อว่า”เหลาเย่ผู้รักมังกร” มีว่า มีชายคนหนึ่งชื่อเหลาเย่ มีอาชีพเขียนรูปมังกรขายและใครๆก็รู้ว่านายเหลาเย่ผู้นี้รักมังกรมาก วันๆก็พรรณถึงแต่มังกรว่าศักดิ์สิทธิ์อย่างนั้นอย่างนี้ นั่งเขียนรูปมังกรทั้งวัน บูชารูปมังกร(คนจีนับถือมังกรเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์เป็นเทพ) รู้ไปถึงเทพมังกรตัวจริงว่านายเหลาเย่รักมังกรมาก ก็ไปปรากฏตัวให้นายเหลเย่เห็น ปรากฏว่านายเหลาเย่เห็นมังกรตัวจริง วิ่งหนีเพราะกลัว ผมก็เลยเปรียบเทียบบรรดาผู้นาของกปปส.แทบจะทั้งหมดว่าเป็น”นายเหลาเย่ผู้รักมังกร” เพราะพอรู้ว่าสิ่งที่ตัวเองเสนอมันคือ”สภาปฏิวัติแห่งชาติ”เป็นเรื่องการปฏิวัติประชาธิปไตย เป็นเรื่องการเคลื่อนไหวเพื่อความเป็นประชาธิปไตย(Democratization) ของลัทธิประชาธิปไตยที่แท้จริง ทำเต็มรูปประเทศก็จะเป็นประชาธิปไตยที่อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนจริงๆ ก็เลยกลัวว่าประเทศจะเป็นประชาธิปไตยตัดเงื่อนไขการกดขี่ขูดรีดของกลุ่มทุนผูกขาดไทยที่ตนรับใช้อยู่ก็เลยเกิดความกลัว ก็เลยละทิ้งกันหมด...เหมือเหลาเย่ผู้รักมังกร เจอของจริงกลับวิ่งหนี ...
Cr:ครูทองคา วิรัตน์ email:thongkrm_virut@yahoo.com
2.ต้นฉบับ'สภาปฏิวัติแห่งชาติ' ต้นฉบับ'สภาปฏิวัติแห่งชาติ' คอลัมน์ : มนุษย์สองหน้า โดยแคน สาริกา “หนังสือพิมพ์คมชัดลึก จนถึงวันนี้ ยังไม่เห็น "กำนันสุเทพ" พูดให้ชัดเสียทีว่า "การปฏิวัติประชาชน" หรือ "สภาประชาชน" คืออะไรกันแน่ และสภาที่ว่านี้ จะลอยมาจากฟ้าหรืออย่างไร? รู้กันบ้างไหมว่า มีต้นตำรับ "ปฏิวัติสันติ" มาจากใคร? กำนันสุเทพ น่าจะให้คนใกล ้ชิดเข้าไปที่เพจ "สภาประชาชนปฏิวัติสันติแห่งชาติ" ซึ่งดำเนินงานโดยสานุศิษย์ของ "ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร" อดีต ส.ส.สุราษฎร์ธานี และอดีตกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.)
3.ย้อนไปเมื่อ 28-29 เมษายน 2530 มีการประชุมผู้แทนประชาชนทั่วประเทศ ที่โรงแรมเอเชีย และโรงแรมรัตนโกสินทร์ เพื่อตั้ง "สภาปฏิวัติแห่งชาติ" ขึ้น เป็นการสนับสนุน "การปฏิวัติประชาธิปไตย" ของประเสริฐ ทรัพย์สุนทร 31 พฤษภาคม 2532 หลังจากมีคำสั่งสภาปฏิวัติแห่งชาติที่ 1/2532 เรื่องการโอนอำนาจจำกรัฐสภามาสู่สภาปฏิวัติแห่งชาติและแถลงการณ์สภาปฏิวัติแห่งชำติ โดยให้รัฐบาลชาติชายหยุดการปฏิบัติหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน และสมาชิกรัฐสภาก็หยุดทาหน้ำที่เช่นกัน ต่อมา รัฐบาลชาติชาย ได้ดำเนินคดี"ประเสริฐ" กับพวกรวม 14 คน ด้วยข้อหาทำลายควำมมั่นคงแห่งชาติซึ่ง "อาจารย์ประเสริฐ" แถลงว่า ถ้าเรื่องสภาปฏิวัติแห่งชาติเป็นความผิด เขาจะขอรับผิดแต่ผู้เดียว สู้คดีกันมายาวนาน...11 สิงหาคม 2537 ศาลอุทธรณ์ได้พิพากษายกฟ้องคดีสภาปฏิวัติตามศาลชั้นต้น เป็นอันว่าคดีถึงที่สุด จำเลยทุกคนพ้นข้อหา สำหรับหลักคิดในการปฏิวัติสันติของอาจารย์ประเสริฐนั้น ต้องปฏิวัติความคิดให้เข้าใจว่า "ระบอบปัจจุบันนี้คือระบอบเผด็จการรัฐสภา ไม่ใช่ระบอบประชาธิปไตย" และรุกทางการเมืองด้วยให้ชนะด้วย "ลัทธิประชาธิปไตย" ไม่ใช่ลัทธิรัฐธรรมนูญ แม้อาจารย์ประเสริฐจะเสียชีวิตไปแล ้ว บรรดาลูกศิษย์ก็เผยแพร่แนวคิดอุดมการณ์ต่อไป ด้วยความเชื่อมั่นใจว่า "นโยบายหลักและนโยบายเร่งด่วนเฉพาะหน้าของสภาปฏิวัติแห่งชาติ ซึ่งได้ผ่านกำรพิสูจน์จากศาลสถิตยุติธรรมมาแล ้วว่า เป็นนโยบายที่ถูกต้องตามกฎหมายทุกประการเมื่อ พ.ศ.2536 ซึ่งแปรมาจากนโยบาย 66/2523" หน้าตาของ "สภาประชาชนปฏิวัติสันติแห่งชาติหรือสภาปฏิวัติแห่งชำติ หรือสภาประชาธิปไตยแห่งชาติ" จะประกอบด้วย ผู้แทนเขตจากทุกอำเภอ (อำเภอละ 1 คน) ผู้แทนอาชีพจากทุกสาขาอาชีพ (อำเภอละ 1 คน) รวม 1 อำเภอมีผู้แทน 2 ประเภท 2 คน และมีผู้แทนทั่วไปที่อาจจะจัดอยู่ในผู้แทน 2 ประเภทนี้ นอกจากนี้ ต้องโอนเอา ส.ส.และ ส.ว. 700 คนในรัฐสภาปัจจุบันนี้ มาอยู่ในสภาประชาชนปฏิวัติฯ ด้วย ในฐานะผู้แทนชนชั้นสูง ส่วนผู้แทนชนชั้นกลางและชนชั้นล่างเอามาจากทุกชนชั้น ทุกเขต ทุกอาชีพ ทุกกลุ่ม ทุกสี ทุกหมู่เหล่า อย่างกว้างขวางและทั่วถึงและปราศจากอคติโดยสิ้นเชิง สมาชิกสภาประชาชนปฏิวัติฯ ประมาณ 3,000-5,000 คน ไม่ใช่ทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญ แต่ทำหน้ำที่สร้างประชาธิปไตยในการปกครองแผ่นดิน
4.ที่สำคัญ ต้องมี "รัฐบาลเฉพาะกาล" ในระยะเปลี่ยนผ่านของประชาชน ให้รัฐบาลประจำการชนิดเก่าของระบอบเผด็จการสิ้นสุดลง อาจารย์ประเสริฐถึงแก่กรรมปลายปี 2537 "สมาน ศรีงาม" ก็เป็นผู้สืบทอด โดยยึดแนวทางดังกล่าวข้างต ต้นมาโดยตลอด "สมาน'" ยังยืนหยัดทำงานด้านทฤษฎีติดอำวุธทางปัญญาให้แก่ประชาชน ให้เข้าใจความหมายของคำว่า "ปฏิวัติสันติ" เพื่อสร้างประชาธิปไตยอย่างสันติ ที่ผ่านมา หลายคนอาจหยามหยันแนวคิดของสมาน ศรีงาม แต่ฟังจากปากของ "นักวิชาการ" ที่ปรึกษากำนันสุเทพ ล้วนแต่เสนอโมเดลการปฏิวัติประชาชน และสภาประชาชน ไม่แตกต่างไปจากความคิดของอาจารย์ประเสริฐ จะต่างกันก็ตรงที่คนพูดเรื่องสภาประชาชนบนเวทีกำนันสุเทพ สวมหัวโขนนักวิชาการ มีคำว่า ดอกเตอร์ นำหน้ำ กลับมีมวลชนจำนวนมากเป่านกหวีดขานรับเสียงดังอึงมี่ ผิดกับ "สมาน" พูดเรื่องปฏิวัติสันติหรือสภาประชาชนทางทีวีดาวเทียมช่องสุวรรณภูมิทุกค่ำคืน กลับมีคนมองว่า ตลก ไร้สาระ นี่แหละสังคมไทย
(จากหนังสือพิมพ์คมชัดลึกฉบับวันที่ 24-04-2558)
edit : thongkrm_virut@yahoo.com
สภาประชาชนฯของแท้อยู่ที่นี่ คือ...
๑. ต้นกำเนิดที่มาของสภาประชาชนฯ...
๑.๑)มาจาก.."#สภากรรมการองคมนตรี" ของ ร.๗ ก่อน พ.ศ. ๒๔๗๕
๑.๒)มาจาก.."#สภาปฏิวัติแห่งชาติ"..ของขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๗ จนถึงปัจจุบัน และพรรคแรงงานประชาธิปไตย
๑.๓)มาเป็น.."#สภาประชาชนปฏิวัติสันติแห่งชาติ" ของขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ หรือพรรคการนำใหม่ประชาชนปฏิวัติสันติ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๗ ปัจจุบันสู่อนาคต
๒. มาจาก.."ทฤษฎีอำนาจรัฐคู่แบบประชาธิปไตย"(Democratic Dual Power) คือ การโอนอำนาจอย่างสันติ(Peaceful Tranformation of Power) ซึ่งมี ๓ ระดับคือ...
- โอนอำนาจทางหลักการ
- โอนอำนาจทางการเมือง
- โอนอำนาจทางกฎหมาย
๓. มาจากปรัชญา.."เอกภาพของด้านตรงข้าม"(Unity of the Opposite) ซึ่งอยู่ใน.."เอกภาพของความแตกต่างสมบูรณ์"(Unity of Abolute Diversity)คือ...
- เอกภาพ..คือ..สัจธรรมสัมบูรณ์(Abosolute Truth) คือ..ถูกต้องอย่างปราศจากเงื่อนไข
- ความขัดแย้ง..คือ..สัจธรรมสัมพัทธ์(Relative Truth) คือ..ถูกต้องอย่างประกอบด้วยเงื่อนไข
- เอกภาพ..คือ..ความไม่ขัดแย้ง
- สองด้านตรงข้ามกัน..คือ..ความขัดแย้ง
- เอกภาพ..คือ..อสังขตธรรม
- ความขัดแย้ง..คือ..สังขตธรรม
- เอกภาพ..คือ..สุญญตา(อนัตตา)อสังขตธรรมซึ่งเป็นผู้ถือดุลสูงสุด
- วัตถุอยู่ในความเคลื่อนไหว
- ความเคลื่อนไหวอยู่ในสุญญตา(ความว่าง)
- พื้นที่(Space)และกาลเวลา(Time)อยู่ในสุญญตา
- ความไม่ขัดแย้ง..ครอบงำ..ความขัดแย้ง
- สังขตธรรม..เกิดจาก..อสังขตธรรม
- ความมี..เกิดจาก..ความไม่มี
- ๑ ๒ ๓ ๔ ๕....เกิดจาก..ความไม่มี หรือสุญญตา
- ความขัดแย้ง..เกิดจาก..เอกภาพหรือความไม่ขัดแย้งหรือสุญญตา
๔. มาจาก..จุดยืน(Standpoint)ในระบบความคิดคือ...
- จุดยืนเห็นแก่ตัว..คือ..ปุถุชน..คือ..อัตตาธิปไตย
- จุดยืนเห็นแก่ส่วนรวม..คือ..กันยาณชน หรือประชาชน..คือ..โลกาธิปไตย
- จุดยืนสุญญตา..คือ..อริยบุคคล..คือ..ธรรมาธิปไตย
๕. มาจาก..อุดมการลัทธิประชาธิปไตยสมบูรณ์(Ideology) ที่ประกอบด้วย...
- ทฤษฎีทางโมกษธรรม นั่นคือ.."อริยสัจธรรม"(Noble Truth)
- ทฤษฎีทางปรัชญา..คือ..เอกภาพของด้านตรงข้ามในเอกภาพของความแตกต่าง สัจธรรม(Truth)
- ทฤษฎีทางรัฐศาสตร์..คือ..อธิปไตยของปวงชนที่มีกรรมกรกับนายทุนชี้ขาด
- ทฤษฎีทางเศรษฐศาสต์..คือ..เศรษฐกิจเสรี รัฐวิสาหกิจ เศรษฐกิจพอเพียง
๖. มาจาก..อุดมคติสังคมประชาธิปไตย(Ideal) คือ...
..."สังคมประชาธิปไตยสมบูรณ์"(Noble Democratic Society)
๗. มาจากแนวทางประชาธิปไตยของพระมหากษัตริย์ ร.๕ ร.๖ ร.๗ และนโยบาย ๖๖/๒๓ หรือการปฏิวัติประชาธิปไตยอย่างสันติ หรือการปฏิวัติสันติ(Peaceful Revolution) ตามหลักพุทธอหิงสาธรรม
๘. มาจากนโยบายสร้างประชาธิปไตย ทั้งนโยบายหลักและนโยบายเร่งด่วนฉะเพราะหน้า ทั้งด้านการเมืองการปกครอง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม-วัฒนธรรม ด้านการทหาร ด้านการต่างประเทศ ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี่ ฯลฯ
๙. มีผู้แทนเขตพื้นที่(Constituency)จากทุกเขตและทุกอำเภอ ที่มาจากความเป็นชาติด้านดินแดนร่วมกัน
๑๐. มีผู้แทนอาชีพ(Walk of Life) มาจากทุกสาขาอาชีพ ที่มาจากความเป็นชาติด้านเศรษฐกิจร่วมกัน
๑๑. มีผู้แทนทั่วไป(General) ที่มาจาก...
- ผู้แทนการเมือง
- ผู้แทนภาษา
- ผู้แทนวัฒนธรรม
- ฯลฯ
๑๒. อำนาจอธิปไตยของปวงชน(Sovereignty of the people) หรือ ระบอบประชาธิปไตย หรือมรรควิธีของการปกครองของประชาชน ซึ่งตรงข้ามกับมรรควิธีของการปกครองของคนส่วนน้อย หรืออำนาจอธิปไตยของคนส่วนน้อย หรือระบอบเผด็จการ
๑๓. ผลประโยชน์และความผาสุกของปวงชนคนทั้งหมด
คณะวิชาการและยุทธศาสตร์และการจัดตั้ง
พรรคการนำใหม่ประชาชนปฏิวัติสันติ
สภาประชาชนปฏิวัติสันติแห่งชาติ
สถาบันปฏิวัติสันติพุทธอหิงสาธรรมประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
คณะธรรมยาตรากอบกู้รักษาผืนแผ่นดินไทยในกรณีเขาพระวิหาร-มณฑลบูรพา ตามอนุสัญญาโตเกียว ค.ศ. ๑๙๔๑
สมัชชากรรมกรแห่งชาติ
สภาชาวนาปฏิวัติสันติแห่งชาติ
สภาเครือข่ายปฏิรูปที่ดินแห่งชาติ
ขบวนการศาสนาเพื่อมนุษยชาติ
ขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ
วันที่ ๓๐ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๕๙
โทร. ๐๘๙-๘๘๖-๐๘๖๘
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=465996460227647&set=a.147973522029944.1073741825.100004518901772&type=3&theater
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น