credit photo :wikipedia
อหิงสา
แนวคิดของศาสนา ฮินดู ที่มีความหมายว่า ก หลีกเลี่ยงความรุนแรง และไม่เบียดเบียนเคารพในชีวิตผู้อื่น เป็นภาษาสันสกฤตแปลว่า การหลีกเลี่ยงความบาดเจ็บ อหิงสามักมีคนนำมาใช้ในการประท้วง เป็นการประท้วงแบบสันติ อย่างเช่น มหาอาตมะ
คานธี ผ็ซึ่งเป็นต้นแบบของ การประท้วงแบบอหิงสา ซึ่งหลังจากนั้นมาก็มีคนนำวิธีการประท้วงแบบอหิงสามาใช้เช่นกัน
แนวคิดของศาสนา ฮินดู ที่มีความหมายว่า ก หลีกเลี่ยงความรุนแรง และไม่เบียดเบียนเคารพในชีวิตผู้อื่น เป็นภาษาสันสกฤตแปลว่า การหลีกเลี่ยงความบาดเจ็บ อหิงสามักมีคนนำมาใช้ในการประท้วง เป็นการประท้วงแบบสันติ อย่างเช่น มหาอาตมะ
คานธี ผ็ซึ่งเป็นต้นแบบของ การประท้วงแบบอหิงสา ซึ่งหลังจากนั้นมาก็มีคนนำวิธีการประท้วงแบบอหิงสามาใช้เช่นกัน
มหาตมะ คานธี
ได้ใช้หลักอหิงสาในการประท้วงกับรัฐบาลอังกฤษ ในอินเดียเพื่อเรียกร้องเอกราช ทำควบคู่ไปกับสัตยเคราะห์ คือ วิธีการนี้เป็นวิธีการของความตั้งใจอันเด็ดเดี่ยวมั่นคง ที่จะยืนหยัดอยู่กับความจริงและความถูกต้อง
โดยพร้อมที่จะยอมเสียสละทุกสิ่งทุกอย่าง และตามทรรศนะของคานธี
หลักสำคัญก็คือการควบคุมจิตใจไม่ให้เกิดความเกลียดชัง
อันจะนำไปสู่ความรุนแรงและการต่อสู้ที่ใช้กำลังต่อไป ประท้วงอย่างยุติธรรม ด้วยความเยือกเย็นและสงบต่อสาธารณชนและต่อผู้ก้าวร้าว โดยพิจารณาถึงเหตุผลของผู้ก้าวร้าวด้วย
ให้เวลาแก่ผู้ก้าวร้าวได้คิด และถึงแม้ว่าต่อมาฝ่ายก้าวร้าวจะไม่ยินยอมแก้ไขความผิดก็ตาม นักสัตยาเคราะห์ก็จะให้ฝ่ายนั้นได้รู้ถึงความตั้งใจของเขา ที่จะลงมือทำการ เคลื่อนไหวแบบ "อหิงสา" และก็กระทำจริงตามนั้นด้วย อย่างเช่น การรวมตัวกันประชาชนนับพันคน ไปรวมตัวสังสรรค์กันที่สวนสาธารณะชัลลียันวาลา
เมืองอมฤตสระ เพื่อเรียกร้องเอกราช
ได้ถูกนายพลไดเยอร์ ผู้บังคับบัญชากองทหารอังกฤษในอมฤตสระ ผู้ซึ่งเคียดแค้นชาวอินเดียและต้องการให้อินเดีย เห็นถึงอนุภาพของอังกฤษ
โดยการยิงประชาชน ที่มาชุมนุม เสียชีวิตนับพันคนเสียชีวิต และบาดเจ็บกว่าสามพัน
โดยที่ประชนเหล่านั้น ไม่ได้ตอบโต้หรือต่อสู้ทางกำลังเลย
ส่งผลให้รัฐบาลอังกฤษเสื่อมเสียเกียติอย่างมากจนยากที่จะฟื้นตัว หรือเหตุการณ์ที่ประชาชนประท้วงกฎหมายอังกฤษ ที่ห้ามคนอินเดียทำเกลือกินเอง ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่สมควรที่จะไม่ให้คนอินเดียใช้ทรัพยากรของอินเดีย
โดยในวันที่ 12 มีนาคม
คานธีได้เริ่มการเดินทางไปยังชายทะเลในตำบลฑัณฑี พร้อมกับประชาชนนับแสนคน ร่วมทำเกลือกินเอง เป็นการฝ่าฝืนกฎหมายอังกฤษ
ที่ตั้งไว้ หรือเรียกว่า “อารยะขัดขืน
หรือ civil disobedience” คือการไม่ทำตามคำสั่งหรือกฎหมายของรัฐบาลหรือผู้ถืออำนาจ
โดยปราศจากความรุนแรงทางกายภาพ ประชาชนได้กระทำการประท้วงโดยปราศจากการใช้กำลัง ถึงแม้ว่าจะถูกคนของรัฐบาลทำร้ายแต่ก็ยังเดินหน้าต่อไป
แม้จะได้รับบาดเจ็บจากการถูกทุบตีก็ตาม การกระทำนี้ทำให้ มีการพูดถึงกันทั่วโลก
ทำให้รัฐบาลอังกฤษยิ่งเสียหน้า และเริ่มใจอ่อน กับการให้เอกราชกับอินเดีย
แต่สิ่งที่เป็นปัญหาที่สำคัญก่อนได้รับเอกราชคือ
ความขัดแย้งระหว่างประชาชนที่นับถือศาสนาอิสลาม และประชาชนที่นับถือศาสนาฮินดู
นำไปสู่การแบ่งแยกเป็นสองประเทศคืออินเดียและปากีสถาน
เหตุการณ์นี้ทำให้คานธีเสียใจอย่างมาก และพยายามทำให้ประชาชนสามัคคีกัน อย่างเช่น
เหตุการณ์ความรุนแรงในกัลกัตตา คานธีได้ประท้วงอดอาหารให้ประชาชนหยุดทะเลาะกัน
จนในที่สุดประชาชนก็เลิกทะเลาะกัน และต่อมา
รัฐบาลอังกฤษก็ได้ให้เอกราชกับอินเดียโดยสมบูรณ์
การกระทำของคานธีโดยใช้หลักอหิงสานั้น เป็นแบบอย่างให้กับ หลายๆประเทศทั่วโลก
อย่างเช่น ขบวนการสิทธิพลเมือง ในสหรัฐอเมริกา
ที่เรียกร้องสิทธิความเท่าเทียมของคนผิวขาวและผิวดำ เป็นต้น
การชุมนุมประท้วงเพื่อเรียกร้องเอกราชโดยยึดหลักอหิงสาของมหาตมะ คานธีเป็นวิธีการต่อสู้แบบสงบที่เป็นวิธีที่ได้ผลและดีที่สุด จนเป็นแบบอย่างให้กับประเทศต่างๆนำไปเป็นแบบอย่างในการประท้วงของท่านมหาตมะได้ใช้หลักอหิงสาในการประท้วงกับรัฐบาลอังกฤษ ในอินเดียเพื่อเรียกร้องเอกราช ทำควบคู่ไปกับสัตยเคราะห์ คือ วิธีการนี้เป็นวิธีการของความตั้งใจอันเด็ดเดี่ยวมั่นคง ที่จะยืนหยัดอยู่กับความจริงและความถูกต้อง
โดยพร้อมที่จะยอมเสียสละทุกสิ่งทุกอย่าง และตามทรรศนะของคานธี
หลักสำคัญก็คือการควบคุมจิตใจไม่ให้เกิดความเกลียดชัง
อันจะนำไปสู่ความรุนแรงและการต่อสู้ที่ใช้กำลังต่อไป ประท้วงอย่างยุติธรรม ด้วยความเยือกเย็นและสงบต่อสาธารณชนและต่อผู้ก้าวร้าว โดยพิจารณาถึงเหตุผลของผู้ก้าวร้าวด้วย
ให้เวลาแก่ผู้ก้าวร้าวได้คิด และถึงแม้ว่าต่อมาฝ่ายก้าวร้าวจะไม่ยินยอมแก้ไขความผิดก็ตาม นักสัตยาเคราะห์ก็จะให้ฝ่ายนั้นได้รู้ถึงความตั้งใจของเขา ที่จะลงมือทำการ เคลื่อนไหวแบบ "อหิงสา" และก็กระทำจริงตามนั้นด้วย อย่างเช่น การรวมตัวกันประชาชนนับพันคน ไปรวมตัวสังสรรค์กันที่สวนสาธารณะชัลลียันวาลา
เมืองอมฤตสระ เพื่อเรียกร้องเอกราช
ได้ถูกนายพลไดเยอร์ ผู้บังคับบัญชากองทหารอังกฤษในอมฤตสระ ผู้ซึ่งเคียดแค้นชาวอินเดียและต้องการให้อินเดีย เห็นถึงอนุภาพของอังกฤษ
โดยการยิงประชาชน ที่มาชุมนุม เสียชีวิตนับพันคนเสียชีวิต และบาดเจ็บกว่าสามพัน
โดยที่ประชนเหล่านั้น ไม่ได้ตอบโต้หรือต่อสู้ทางกำลังเลย
ส่งผลให้รัฐบาลอังกฤษเสื่อมเสียเกียติอย่างมากจนยากที่จะฟื้นตัว หรือเหตุการณ์ที่ประชาชนประท้วงกฎหมายอังกฤษ ที่ห้ามคนอินเดียทำเกลือกินเอง ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่สมควรที่จะไม่ให้คนอินเดียใช้ทรัพยากรของอินเดีย
โดยในวันที่ 12 มีนาคม
คานธีได้เริ่มการเดินทางไปยังชายทะเลในตำบลฑัณฑี พร้อมกับประชาชนนับแสนคน ร่วมทำเกลือกินเอง เป็นการฝ่าฝืนกฎหมายอังกฤษ
ที่ตั้งไว้ หรือเรียกว่า “อารยะขัดขืน
หรือ civil disobedience” คือการไม่ทำตามคำสั่งหรือกฎหมายของรัฐบาลหรือผู้ถืออำนาจ
โดยปราศจากความรุนแรงทางกายภาพ ประชาชนได้กระทำการประท้วงโดยปราศจากการใช้กำลัง ถึงแม้ว่าจะถูกคนของรัฐบาลทำร้ายแต่ก็ยังเดินหน้าต่อไป
แม้จะได้รับบาดเจ็บจากการถูกทุบตีก็ตาม การกระทำนี้ทำให้ มีการพูดถึงกันทั่วโลก
ทำให้รัฐบาลอังกฤษยิ่งเสียหน้า และเริ่มใจอ่อน กับการให้เอกราชกับอินเดีย
แต่สิ่งที่เป็นปัญหาที่สำคัญก่อนได้รับเอกราชคือ
ความขัดแย้งระหว่างประชาชนที่นับถือศาสนาอิสลาม และประชาชนที่นับถือศาสนาฮินดู
นำไปสู่การแบ่งแยกเป็นสองประเทศคืออินเดียและปากีสถาน
เหตุการณ์นี้ทำให้คานธีเสียใจอย่างมาก และพยายามทำให้ประชาชนสามัคคีกัน อย่างเช่น
เหตุการณ์ความรุนแรงในกัลกัตตา คานธีได้ประท้วงอดอาหารให้ประชาชนหยุดทะเลาะกัน
จนในที่สุดประชาชนก็เลิกทะเลาะกัน และต่อมา
รัฐบาลอังกฤษก็ได้ให้เอกราชกับอินเดียโดยสมบูรณ์
การกระทำของคานธีโดยใช้หลักอหิงสานั้น เป็นแบบอย่างให้กับ หลายๆประเทศทั่วโลก
อย่างเช่น ขบวนการสิทธิพลเมือง ในสหรัฐอเมริกา
ที่เรียกร้องสิทธิความเท่าเทียมของคนผิวขาวและผิวดำ เป็นต้น
คานธีเป็นอหิงสาที่แท้จริงคือบ่มลึกไปที่จิตใจคน ไม่ให้เกลียดชัง
และใช้ความเยือกเย็น จนทำให้การชุมนุมประท้วงปราศจากการใช้กำลัง
ข้อมูลจาก วิกิพีเดีย
suriya mardeegun
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น