นาซีเยอรมัน
พรรคสังคมนิยมชาตินิยม(นาซีเยอรมัน) ( National Socialist German Workers' Party หรือเขียนเป็นภาษาเยอรมันว่า National Sozialistische Deutsche Arbeiter Partei ภายหลังเรียกสั้นๆว่า National Sozialist หรือ Nazi) หรือจักรวรรดิไรช์ที่สาม (The Third Reich) เป็นชื่อสามัญเรียกประเทศเยอรมนีสมัยที่ถูกปกครองแบบเผด็จการเบ็ดเสร็จ โดย อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler)
หัวหน้าพรรคสังคมนิยมชาตินิยมเยอรมัน หรือนาซีเยอรมัน ผู้ประกาศเริ่มสงครามโลกครั้งที่ 2
ซึ่ง แต่เดิมพรรคนาซีเป็นเพียงกลุ่มลัทธิทางการเมืองเล็กๆในเมืองมิวนิกที่มีแกน นำเพียง 7 คนเท่านั้น โดนมีนโยบายชาตินิยมและโจมตีลัทธิสังคมนิยมคอมมิวนิสต์อย่างชัดเจน และเมื่อฮิตเลอร์ก้าวมาเป็นหัวหน้าพรรค ในช่วงเวลานั้นเป็นช่วงที่สภาวะเศรษฐกิจของเยอรมนีอยู่ภาวะตกต่ำถึงขีดสุด อันเป็นผลมาจากสนธิสัญญาแวร์แซายส์ในฐานะผู้แพ้สงครามทำให้เกิดกระแสความไม่ พอใจต่อการบริหารงานของรัฐบาลจากหลาย ฝ่ายในเยอรมนี ทำให้ฮิตเลอร์และพรรคนาซีปลุกระดมก่อการปฏิวัติขึ้นในกรุงเบอร์ลิน แต่ทำการปฏิวัติไม่สำเร็จส่งผลให้แกนนำหลายคนถูกดำเนินคดีตัวฮิตเลอร์เองก็ ถูกจับเข้าคุกเป็นเวลา 8 เดือน และเมื่อได้รับการปล่อยตัวเขาก็กลับมาเริ่มต้นชีวิตทางการเมืองและรวบรวม พรรคนาซีขึ้นอีกครั้ง ซึ่งนโยบายที่กู้เกียรติยศคืนให้แก่เยอรมันของฮิตเลอร์นั้นได้การตอบรับจาก ประชาชนเป็นอย่างสูง อีกทั้งพรรคนาซีที่กลับมารวมตัวกันใหม่นี้ยังได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุน จาก
อีมิล เคอร์ดอร์ฟ (Emil Kirdof) เพื่อนนักธุรกิจที่ตัดสินใจร่วมเล่นการเมืองกับฮิตเลอร์ พรรคนาซีจึงมีฐานะที่มั่นคงขึ้นจนสามารถเช่า พระราชวังบาร์โลว์ (Barlow) เป็นสถานที่ทำการพรรคโดยเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น The Brow House ทำให้การดำเนินการของพรรคประสบความสำเร็จอย่างสูง
จนในที่สุดเมื่อฮิตเลอร์ได้ก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งผู้นำ (Fuhrer) เขาก็ได้นำพาประเทศเยอรมนีก้าวสู่การปกครองแบบเผด็จการภายใต้ลัทธินาซีโดยสมบูรณ์
เครื่องหมาย สวัสติกะ(Swastika) เป็นเครื่องหมายที่รู้จักไปทั่วโลกว่าเป็นสัญลักษณ์ของนาซีเยอรมัน แต่ที่จริง เครื่องหมาย สวัสติกะ นี้มีมานานแล้ว และเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ของหลาย ประเทศโดยแต่ละประเทศก็จะใช้เครื่องหมายนี้ในความหมายต่าง กัน ซึ่งคำว่า สวัสติกะ มาจาก ภาษาสันสกฤต มีความหมายว่า กงล้อแห่งชีวิต หรือ กงล้อแห่งพระอาทิตย์ ด้วย
หัวหน้าพรรคสังคมนิยมชาตินิยมเยอรมัน หรือนาซีเยอรมัน ผู้ประกาศเริ่มสงครามโลกครั้งที่ 2
ซึ่ง แต่เดิมพรรคนาซีเป็นเพียงกลุ่มลัทธิทางการเมืองเล็กๆในเมืองมิวนิกที่มีแกน นำเพียง 7 คนเท่านั้น โดนมีนโยบายชาตินิยมและโจมตีลัทธิสังคมนิยมคอมมิวนิสต์อย่างชัดเจน และเมื่อฮิตเลอร์ก้าวมาเป็นหัวหน้าพรรค ในช่วงเวลานั้นเป็นช่วงที่สภาวะเศรษฐกิจของเยอรมนีอยู่ภาวะตกต่ำถึงขีดสุด อันเป็นผลมาจากสนธิสัญญาแวร์แซายส์ในฐานะผู้แพ้สงครามทำให้เกิดกระแสความไม่ พอใจต่อการบริหารงานของรัฐบาลจากหลาย ฝ่ายในเยอรมนี ทำให้ฮิตเลอร์และพรรคนาซีปลุกระดมก่อการปฏิวัติขึ้นในกรุงเบอร์ลิน แต่ทำการปฏิวัติไม่สำเร็จส่งผลให้แกนนำหลายคนถูกดำเนินคดีตัวฮิตเลอร์เองก็ ถูกจับเข้าคุกเป็นเวลา 8 เดือน และเมื่อได้รับการปล่อยตัวเขาก็กลับมาเริ่มต้นชีวิตทางการเมืองและรวบรวม พรรคนาซีขึ้นอีกครั้ง ซึ่งนโยบายที่กู้เกียรติยศคืนให้แก่เยอรมันของฮิตเลอร์นั้นได้การตอบรับจาก ประชาชนเป็นอย่างสูง อีกทั้งพรรคนาซีที่กลับมารวมตัวกันใหม่นี้ยังได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุน จาก
อีมิล เคอร์ดอร์ฟ (Emil Kirdof) เพื่อนนักธุรกิจที่ตัดสินใจร่วมเล่นการเมืองกับฮิตเลอร์ พรรคนาซีจึงมีฐานะที่มั่นคงขึ้นจนสามารถเช่า พระราชวังบาร์โลว์ (Barlow) เป็นสถานที่ทำการพรรคโดยเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น The Brow House ทำให้การดำเนินการของพรรคประสบความสำเร็จอย่างสูง
จนในที่สุดเมื่อฮิตเลอร์ได้ก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งผู้นำ (Fuhrer) เขาก็ได้นำพาประเทศเยอรมนีก้าวสู่การปกครองแบบเผด็จการภายใต้ลัทธินาซีโดยสมบูรณ์
เครื่องหมาย สวัสติกะ(Swastika) สัญลักษณ์ของนาซีเยอรมัน |
ผู้ออกแบบเครื่องหมายนี้ให้แก่ ฮิตเลอร์ คือ ดร.เฟรเดอริค โครห์น ซึ่งเดิมเขาออกแบบให้เครื่องหมายหนุนไปทางขวาแต่ฮิตเลอร์ ไม่ชอบใจเลยหมุนไปทางซ้ายแทน สาเหตุที่ฮิตเลอร์นำเครื่องหมายนี้มาใช้เป็นสัญลักษณ์ของพรรคนาซีก็เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในความพยายามสร้างภาพความยิ่งใหญ่ของเยอรมนีการเรียกความรักชาติและความจงรักภักดีต่อกองทัพู้
นาซีรวมพล การรวมพลครั้งใหญ่ ก่อนจะลงสู่สนามรบในสงครามโลกครั้งที่2
(การชุมนุมที่เนือร์นแบร์ก) |
การ
ชุมนุมที่เนือร์นแบร์ก ค.ศ.
1935ฮิตเลอร์หันไปให้ความสนใจในด้านการต่างประเทศมากกว่านโยบายภายในประเทศ
เป้าหมายหลักของเขาคือการยึดครองดินแดนทางตะวันออกไปจนถึงสหภาพโซเวียต ในปี
ค.ศ. 1935 การฟื้นฟูกำลังทหารในเยอรมนีเป็นไปอย่างรวดเร็ว
รวมทั้งมีการเกณฑ์ทหาร และการสร้างกองทัพอากาศ
ทั้งยังได้รับอนุญาตให้มีกองเรือขนาด 35% ของราชนาวีอังกฤษ และในปี ค.ศ.
1936 ฮิตเลอร์ยึดครองไรน์แลนด์โดยปราศจากปฏิกิริยารุนแรงจากพันธมิตรตะวันตก
ซึ่งนับเป็นการขยายดินแดนครั้งแรกในสมัยนาซีเยอรมนี
ในปีเดียวกัน ฮิตเลอร์ได้ประกาศว่าเยอรมนีต้องพร้อมเข้าสู่สงครามในปี ค.ศ. 1940 พร้อมกับเริ่มแผนการสี่ปี อุตสาหกรรมหนักของเยอรมนีได้ลงนามในข้อตกลงผลิตอาวุธให้กับรัฐบาลขนานใหญ่ ทำให้เยอรมนีมีอาวุธจำนวนมากที่พร้อมเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่สอง แต่ฮิตเลอร์ประมาณว่าสงครามที่เกิดขึ้นจะกินเวลาไม่นานนัก ทำให้อาวุธดังกล่าวไม่มีการผลิตเพื่อทดแทน
ในปีเดียวกัน ฮิตเลอร์ได้ประกาศว่าเยอรมนีต้องพร้อมเข้าสู่สงครามในปี ค.ศ. 1940 พร้อมกับเริ่มแผนการสี่ปี อุตสาหกรรมหนักของเยอรมนีได้ลงนามในข้อตกลงผลิตอาวุธให้กับรัฐบาลขนานใหญ่ ทำให้เยอรมนีมีอาวุธจำนวนมากที่พร้อมเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่สอง แต่ฮิตเลอร์ประมาณว่าสงครามที่เกิดขึ้นจะกินเวลาไม่นานนัก ทำให้อาวุธดังกล่าวไม่มีการผลิตเพื่อทดแทน
พรรคนาซีกับนโยบายประชานิยม กล่าวได้ว่าฮิตเลอร์กับพรรคนาซีของเขานั้นเป็นสัญลักษณ์แห่งความสำเร็จของระบอบเผด็จการที่อยู่คู่กัน ฮิตเลอร์ได้นำระบบของทหารมาใช้ในพรรค เขาสร้างแรงสนับสนุนจากคนในชาติด้วยการใช้นโยบายประชานิยม เปิดการค้าให้เป็นแบบเสรีแต่ในขณะเดียวกันก็จำกัดรายจ่ายของรัฐ โดนรายจ่ายที่ฮิตเลอร์ทุ่มให้นั้นเป็นไปเพื่อการทหารและการจัดสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกในนามความช่วยเหลือจากภาครัฐ เช่น การสร้างทางหลวง การแก้ปัญหาคนว่างงาน ทั่วประเทศ การตั้งโรงงานรถโฟล์กสวาเก้น (Volkswagen) ซึ่งแปลว่ายานยนต์ของประชาชนและขายให้ประชาชนโดยถูก สร้างอาคารที่อยู่อาศัยราคาถูกสำหรับประชาชน(Wohnungbau)
และนโยบายอื่นๆ ที่มีลักษณะเอื้ออาทร
และที่เด่นที่สุดคือการยกเลิกจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามแก่ประเทศพันธมิตร
แม้ว่าบรรยายกาศโดยรวมของเยอรมันในขณะนั้นเหมือนประเทศของกองทหารมากกว่าจะ
เปิดให้ประชาชนอยู่อย่างเสรี
แต่ก็ต้องยอมรับว่าการบริหารงานของฮิตเลอร์นั้นสามารถสนองตอบต่อปัจจัย4
ของชาวเยอรมันได้ดีพอสมควร
แต่ที่เหนือสิ่งอื่นใดก็คือการที่ฮิตเลอร์ประกาศนำพาประเทศเยอรมันปฏิเสธต่อ
สนธิสัญญาแวร์ซายส์และพยยามจะกู้เกียรติยศจากฐานะประเทศผู้แพ้สงคราม
ผผงาดขึ้นมาเป็นมหาอำนาจของโลกอีกครั้ง
แนวคิดการปกครองของนาซี การ
ปกครองในนาซีเยอรมนีมีส่วนคล้ายกันมากกับการปกครองตามลัทธิฟาสซิสต์
ซึ่งได้ถือกำเนิดในอิตาลี ภายใต้การปกครองของเบนิโต มุสโสลินี
ทว่าอย่างไรก็ตาม พรรคนาซีไม่เคยประกาศตนเองว่ายึดถือลัทธิฟาสซิสต์เลย
ทั้งลัทธินาซีและลัทธิฟาสซิสต์ต่างก็เป็นแนวคิดทางการเมืองแบบนิยมทหาร
ชาตินิยมและต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ และการสร้างเสริมกำลังทหารของตัวเอง
รวมไปถึงทั้งสองแนวคิดตั้งใจที่จะสร้างรัฐเผด็จการ
แต่ว่าสิ่งที่ทำให้ลัทธินาซีแตกต่างจากลัทธิฟาสซิสต์ในอิตาลี
สเปนและโปรตุเกส นั่นคือ การกีดกันทางเชื้อชาติ
แนวคิดนาซียังได้พยายามสร้างรัฐที่รวมอำนาจเข้าสู่บุคคลคนเดียวอย่างเบ็ด
เสร็จ
ซึ่งไม่เหมือนกับลัทธิฟาสซิสต์ที่ได้ส่งเสริมการปกครองแบบรวมอำนาจเข้าสู่
บุคคลคนเดียว แต่ยังคงอนุญาตให้ประชาชนมีเสรีภาพบางส่วนได้ ดังนั้น
ผลที่เกิดขึ้น คือ อิตาลียังคงเป็นการปกครองแบบราชาธิปไตยอยู่เช่นเดิม
และพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลีก็ยังคงหลงเหลืออำนาจที่มีอย่างเป็นทางการอยู่
ดี อย่างไรก็ตาม ลัทธินาซีไม่ค่อยมีอะไรเป็นของตัวเอง
ฮิตเลอร์ได้ลอกแบบสัญลักษณ์ตามอย่างฟาสซิสต์อิตาลี
(ส่วนเครื่องหมายสวัสดิกะลอกแบบมาจากอินเดีย) ทั้งยังรวมไปถึง
การทำความเคารพแบบโรมันมาใช้เป็นการทำความเคารพฮิตเลอร์
และมีการใช้พวกที่แต่งตัวเหมือนกับทหารมาเป็นส่วนหนึ่งของพรรค (ในนาซีเยอรมนี คือ เอสเอ ส่วนในฟาสซิสต์อิตาลี คือ พวกเชิ้ตดำ) ฮิต
เลอร์ยังได้ลอกการเรียก "ผู้นำของประเทศ" มาจากอิตาลีด้วย ("ฟือเรอร์"
มีความหมายถึง ท่านผู้นำ ในนาซีเยอรมนี ส่วนในฟาสซิสต์อิตาลีใช้คำว่า
"ดูเช่" (Duce )
ทั้งสองเป็นแนวคิดที่ต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์มีแนวคิดที่จะทำสงคราม
และยังสนับสนุนระบบเศรษฐกิจสายกลางระหว่างลัทธิทุนนิยมและคอมมิวนิสต์ (เรียกว่า corporatism) พรรค
นาซีปฏิเสธสัญลักษณ์แห่งลัทธิฟาสซิสต์
และยืนยันว่าตนยึดหลักตามแนวชาติสังคมนิยม แต่ว่า
นักวิเคราะห์หลายท่านก็ยังจัดให้แนวคิดชาติสังคมนิยมให้เป็นส่วนหนึ่งของ
ลัทธิฟาสซิสต์อยู่ดี
แนวคิดเผด็จการของพรรคนาซีนั้นเป็นไปตามหลักคำสอนของลัทธินาซี พรรคนาซีได้บอกแก่ชาวเยอรมันว่าความสำเร็จของชาติเยอรมนีในอดีตและประชากร ชาวเยอรมันนั้นมีความเชื่อมโยงกับแนวคิดตามแบบชาติสังคมนิยม แม้ว่าก่อนหน้านั้นจะยังไม่มีแนวคิดดังกล่าวก็ตาม การโฆษณาชวนเชื่อได้เพิ่มความน่าเชื่อถือและความแข็งแกร่งของแนวคิดของนาซี และสร้างความมีชื่อเสียงให้แก่ฟือเรอร์ ซึ่งก็คือ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้ถูกวาดภาพให้เป็นอัจฉริยะที่อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของพรรคนาซีและผู้ ที่นำประเทศเยอรมนีให้พ้นภัย
เพื่อที่จะรักษาความสามารถที่จะสร้างรัฐเผด็จการเบ็ดเสร็จ พรรคนาซีได้สร้างองค์กรของตัวเอง เป็นพวกที่แต่งตัวเหมือนกับทหาร คือ หน่วยเอสเอ หรือ "หน่วยวายุ" ซึ่งมีหน้าที่จัดการกับพวกหัวซ้ายจัด พวกประชาธิปไตย ชาวยิว และคู่แข่งอื่นๆ หรือกลุ่มทางการเมืองขนาดเล็ก ความป่าเถื่อนของหน่วยเอสเอได้สร้างความกลัวให้แก่พลเมืองของประเทศ ทำให้ชาวเยอรมันหวาดกลัวต่อการถูกลงโทษ ซึ่งบางครั้งถึงตาย ถ้าหากพวกเขาออกนอกลู่นอกทางที่พรรคนาซีได้วางเอาไว้ นอกจากนั้น หน่วยเอสเอยังได้มีส่วนช่วยในการดึงดูดเยาวชนที่แปลกแยกจากสังคมหรือว่างงาน เข้าสู่พรรคนาซีอีกด้วย
"ปัญหาของชาวเยอรมัน" ตาม ที่มักถูกกล่าวถึงในการศึกษาของอังกฤษ ได้พุ่งเป้าไปยังการปกครองของเยอรมนีทางภาคเหนือและภาคกลางของทวีปยุโรป และเป็นแก่นสำคัญตลอดช่วงเวลาของประวัติศาสตร์เยอรมนี ตามหลัก "ตรรกวิทยา" ของการรักษาให้ชาวเยอรมันทำงานเบาๆ เพื่อประโยชน์เกี่ยวกับการแข่งขันทางเศรษฐกิจ และได้ถูกส่งไปปั่นป่วนการสร้างรัฐโปแลนด์ขึ้นมาใหม่หลังจากนั้น โดยมีเป้าหมาย คือ ถ่วงน้ำหนักจำนวนมากในความพยายามที่จะสร้าง "ความลงตัวของเยอรมนี"
พรรคนาซียังได้มีความคิดของการสร้าง Großdeutschland หรือ เยอรมนีอันยิ่งใหญ่ และเชื่อว่าการรวมชาวเยอรมันเข้าด้วยกันเป็นประเทศเดียวจะเป็นขั้นตอนสำคัญ ที่จะนำพาประเทศให้ประสบความสำเร็จ แรงสนับสนุนอย่างจริงจังของนาซีต่อแนวคิดเรื่องประชาชนซึ่งอยู่ในหลักการ เยอรมนีอันยิ่งใหญ่นำไปสู่การขยายตัวของเยอรมนี ให้ความชอบธรรมและการสนับสนุนสำหรับจักรวรรดิไรช์ที่สามที่จะเดินหน้าใช้ กำลังเข้าควบคุมดินแดนของเยอรมนีที่เคยสูญเสียไปในอดีต ที่มีประชากรที่ไม่ใช่เยอรมันอาศัยอยู่มาก หรืออาจเข้ายึดครองในดินแดนที่ชาวเยอรมันอาศัยเป็นจำนวนมากอยู่แล้ว พรรคนาซีมักอ้างถึงแนวคิดของเยอรมนีที่เรียกว่า Lebensraum (พื้นที่อาศัย) ซึ่งกล่าวถึงความจำเป็นในการเพิ่มประชากรเยอรมัน เพื่อเป็นข้ออ้างในการขยายดินแดน
เป้าหมายที่สำคัญสำหรับพรรคนาซีได้แก่การยุบรวมเอาฉนวนโปแลนด์และนครเสรีดาน ซิกเข้าสู่จักรวรรดิไรช์ที่สาม ซึ่งเป็นอีกก้าวหนึ่งของนโยบายการแบ่งแยกเชื้อชาติของนาซี แผนการ Lebensraum มี ส่วนที่เกี่ยวข้องกันหลายประการ กล่าวคือ พรรคนาซีเชื่อว่ายุโรปตะวันออกควรจะเป็นดินแดนที่อยู่อาศัยของชาวเยอรมัน และประชาชนชาวสลาฟที่อยู่ในแผ่นดินของนาซีเยอรมนี พวกเขาเหล่านั้นจะถูกใช้เป็นแรงงานราคาถูกหรือถูกเนรเทศไปทางทิศตะวันออกต่อ ไป
การเหยียดผิวและเผ่าพันธุ์นิยม ถือได้ว่าเป็นลักษณะสำคัญที่เกิดขึ้นในช่วงนาซีเยอรมนี พรรคนาซีได้รวมเอาแนวคิดต่อต้านเซมไมท์และต่อต้านคอมมิวนิสต์ และรวมไปถึงขบวนการหัวเอียงซ้ายข้ามชาติ และทุนนิยมตลาดสากลเช่นกัน ดังที่เป็นผลงานของ "พวกยิวที่สมรู้ร่วมคิด" ซึ่งยังได้หมายความรวมไปถึงขบวนการ อย่างเช่น "การปฏิวัติพวกต่ำกว่ามนุษย์ ยิว-บอลเชวิค" ผลที่เกิดขึ้นตามมาหลังจากเกิดการโยกย้าย กักตัวและการสังหารชาวยิวและชาวโซเวียตอย่างเป็นระบบขนานใหญ่ตามแนวรบด้าน ตะวันออก ทำให้ประชาชนเสียชีวิตไปอย่างน้อย 11 ถึง 12 ล้านคน ในช่วงเวลาระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า "การล้างชาติพันธุ์โดยนาซี"
แนวคิดเผด็จการของพรรคนาซีนั้นเป็นไปตามหลักคำสอนของลัทธินาซี พรรคนาซีได้บอกแก่ชาวเยอรมันว่าความสำเร็จของชาติเยอรมนีในอดีตและประชากร ชาวเยอรมันนั้นมีความเชื่อมโยงกับแนวคิดตามแบบชาติสังคมนิยม แม้ว่าก่อนหน้านั้นจะยังไม่มีแนวคิดดังกล่าวก็ตาม การโฆษณาชวนเชื่อได้เพิ่มความน่าเชื่อถือและความแข็งแกร่งของแนวคิดของนาซี และสร้างความมีชื่อเสียงให้แก่ฟือเรอร์ ซึ่งก็คือ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้ถูกวาดภาพให้เป็นอัจฉริยะที่อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของพรรคนาซีและผู้ ที่นำประเทศเยอรมนีให้พ้นภัย
เพื่อที่จะรักษาความสามารถที่จะสร้างรัฐเผด็จการเบ็ดเสร็จ พรรคนาซีได้สร้างองค์กรของตัวเอง เป็นพวกที่แต่งตัวเหมือนกับทหาร คือ หน่วยเอสเอ หรือ "หน่วยวายุ" ซึ่งมีหน้าที่จัดการกับพวกหัวซ้ายจัด พวกประชาธิปไตย ชาวยิว และคู่แข่งอื่นๆ หรือกลุ่มทางการเมืองขนาดเล็ก ความป่าเถื่อนของหน่วยเอสเอได้สร้างความกลัวให้แก่พลเมืองของประเทศ ทำให้ชาวเยอรมันหวาดกลัวต่อการถูกลงโทษ ซึ่งบางครั้งถึงตาย ถ้าหากพวกเขาออกนอกลู่นอกทางที่พรรคนาซีได้วางเอาไว้ นอกจากนั้น หน่วยเอสเอยังได้มีส่วนช่วยในการดึงดูดเยาวชนที่แปลกแยกจากสังคมหรือว่างงาน เข้าสู่พรรคนาซีอีกด้วย
"ปัญหาของชาวเยอรมัน" ตาม ที่มักถูกกล่าวถึงในการศึกษาของอังกฤษ ได้พุ่งเป้าไปยังการปกครองของเยอรมนีทางภาคเหนือและภาคกลางของทวีปยุโรป และเป็นแก่นสำคัญตลอดช่วงเวลาของประวัติศาสตร์เยอรมนี ตามหลัก "ตรรกวิทยา" ของการรักษาให้ชาวเยอรมันทำงานเบาๆ เพื่อประโยชน์เกี่ยวกับการแข่งขันทางเศรษฐกิจ และได้ถูกส่งไปปั่นป่วนการสร้างรัฐโปแลนด์ขึ้นมาใหม่หลังจากนั้น โดยมีเป้าหมาย คือ ถ่วงน้ำหนักจำนวนมากในความพยายามที่จะสร้าง "ความลงตัวของเยอรมนี"
พรรคนาซียังได้มีความคิดของการสร้าง Großdeutschland หรือ เยอรมนีอันยิ่งใหญ่ และเชื่อว่าการรวมชาวเยอรมันเข้าด้วยกันเป็นประเทศเดียวจะเป็นขั้นตอนสำคัญ ที่จะนำพาประเทศให้ประสบความสำเร็จ แรงสนับสนุนอย่างจริงจังของนาซีต่อแนวคิดเรื่องประชาชนซึ่งอยู่ในหลักการ เยอรมนีอันยิ่งใหญ่นำไปสู่การขยายตัวของเยอรมนี ให้ความชอบธรรมและการสนับสนุนสำหรับจักรวรรดิไรช์ที่สามที่จะเดินหน้าใช้ กำลังเข้าควบคุมดินแดนของเยอรมนีที่เคยสูญเสียไปในอดีต ที่มีประชากรที่ไม่ใช่เยอรมันอาศัยอยู่มาก หรืออาจเข้ายึดครองในดินแดนที่ชาวเยอรมันอาศัยเป็นจำนวนมากอยู่แล้ว พรรคนาซีมักอ้างถึงแนวคิดของเยอรมนีที่เรียกว่า Lebensraum (พื้นที่อาศัย) ซึ่งกล่าวถึงความจำเป็นในการเพิ่มประชากรเยอรมัน เพื่อเป็นข้ออ้างในการขยายดินแดน
เป้าหมายที่สำคัญสำหรับพรรคนาซีได้แก่การยุบรวมเอาฉนวนโปแลนด์และนครเสรีดาน ซิกเข้าสู่จักรวรรดิไรช์ที่สาม ซึ่งเป็นอีกก้าวหนึ่งของนโยบายการแบ่งแยกเชื้อชาติของนาซี แผนการ Lebensraum มี ส่วนที่เกี่ยวข้องกันหลายประการ กล่าวคือ พรรคนาซีเชื่อว่ายุโรปตะวันออกควรจะเป็นดินแดนที่อยู่อาศัยของชาวเยอรมัน และประชาชนชาวสลาฟที่อยู่ในแผ่นดินของนาซีเยอรมนี พวกเขาเหล่านั้นจะถูกใช้เป็นแรงงานราคาถูกหรือถูกเนรเทศไปทางทิศตะวันออกต่อ ไป
การเหยียดผิวและเผ่าพันธุ์นิยม ถือได้ว่าเป็นลักษณะสำคัญที่เกิดขึ้นในช่วงนาซีเยอรมนี พรรคนาซีได้รวมเอาแนวคิดต่อต้านเซมไมท์และต่อต้านคอมมิวนิสต์ และรวมไปถึงขบวนการหัวเอียงซ้ายข้ามชาติ และทุนนิยมตลาดสากลเช่นกัน ดังที่เป็นผลงานของ "พวกยิวที่สมรู้ร่วมคิด" ซึ่งยังได้หมายความรวมไปถึงขบวนการ อย่างเช่น "การปฏิวัติพวกต่ำกว่ามนุษย์ ยิว-บอลเชวิค" ผลที่เกิดขึ้นตามมาหลังจากเกิดการโยกย้าย กักตัวและการสังหารชาวยิวและชาวโซเวียตอย่างเป็นระบบขนานใหญ่ตามแนวรบด้าน ตะวันออก ทำให้ประชาชนเสียชีวิตไปอย่างน้อย 11 ถึง 12 ล้านคน ในช่วงเวลาระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า "การล้างชาติพันธุ์โดยนาซี"
การล่มสลายของนาซี หลังจากการเยอรมันยอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไขใดๆทั้งสิ้น ถือเป็นจุดจบของนาซีเยอรมันด้วย
การ
แบ่งแยกปกครองเยอรมนีเริ่มต้นขึ้นภายใต้การจัดตั้งสภาควบคุมฝ่ายสัมพันธมิตร
และแบ่งเยอรมนีและกรุงเบอร์ลินออกเป็น 4 ส่วน
ให้อยู่ในการควบคุมของสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และสหภาพโซเวียต
โดยส่วนที่ปกครองโดยสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และฝรั่งเศส
รวมตัวกันเป็นเยอรมนีตะวันตก
และส่วนที่สหภาพโซเวียตปกครองกลายมาเป็นเยอรมนีตะวันออก
เยอรมนีทั้งสองเป็นสนามรบของสงครามเย็นในทวีปยุโรป
ก่อนที่จะมีการรวมประเทศอีกครั้งในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20
suriya mardeegun
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น