(ข้อความนี้ของผู้โพสต์) เห็นแรกๆเราก็คิดว่ามาจากอินเดีย เห็นมีแต่สาวๆโสดๆนิยมกัน แล้วสาวอินเดียที่ทำแสดงว่าแต่งงานแล้ว
ที่แท้มาจากจีนนี่เอง เดียวนี้แฟชั่นไทยมาจากจีน
แล้วหรือครับนี่ ใครกันนะที่นำให้คนไทยไปนิยมจีน
อย่างนี้เกาหลีเหนือคงน้อยใจแย่นะครับ...อิ อิ..
ที่แท้มาจากจีนนี่เอง เดียวนี้แฟชั่นไทยมาจากจีน
แล้วหรือครับนี่ ใครกันนะที่นำให้คนไทยไปนิยมจีน
อย่างนี้เกาหลีเหนือคงน้อยใจแย่นะครับ...อิ อิ..
♦”แอพแต่งหน้า #MakeupPlus จากจีนที่ฮิตมาถึงไทย
โดยเฉพาะสาวๆ กำลังติดกันอย่างหนุกหนานนั้น”
...ไอ้เจ้าจุดแต้มสีแดงหรือสีอื่นๆ เป็นวิธีการแต่งหน้า
ของจีนโบราณ ที่ตอนนี้วัยรุ่นที่นิยมแนวย้อนยุคแต้ม
จุดสีแดงข้างหน้าผาก เป็นการแต่งหน้าที่เรียกกันว่า
"เสียหง" (斜紅) นิยมมากสมัยราชวงศ์ถัง
โดยเฉพาะสาวๆ กำลังติดกันอย่างหนุกหนานนั้น”
...ไอ้เจ้าจุดแต้มสีแดงหรือสีอื่นๆ เป็นวิธีการแต่งหน้า
ของจีนโบราณ ที่ตอนนี้วัยรุ่นที่นิยมแนวย้อนยุคแต้ม
จุดสีแดงข้างหน้าผาก เป็นการแต่งหน้าที่เรียกกันว่า
"เสียหง" (斜紅) นิยมมากสมัยราชวงศ์ถัง
แต่มีที่มาย้อนไปตั้งแต่สมัยพระเจ้าโจผี เว่ยเหวินตี้
มีตำนานเล่าว่า โจผีมีพระสนมคนโปรดอยู่องค์หนึ่ง
ชื่อว่า เซวียเย่ไหล คืนหนึ่งโจผีทรงอ่านหนังสือในห้อง
มีเพียงแสงตะเกียงสลัวกับลับแลแก้วกั้นพระองค์ไว้
มีสนมเข้ามาในห้องเดินชน ลับแลแก้วใสจนหน้าผาก
เป็นรอยแผล เมื่อหายยังคงเหลือแผลเป็นรูปจันทร์เสี้ยว
แต่นางยังคงเป็นสนมยังที่โปรดปราน สาวชาววังนางอื่น
เห็นแล้วชอบและอยากเป็นคนโปรดของฮ่องเต้บ้าง
จึงนำชาดมาแต้มเป็นรูปจันเสี้ยวที่หน้าผากบ้าง
เรียกว่า การแต่งหน้าแบบเสี่ยวเสีย
มีตำนานเล่าว่า โจผีมีพระสนมคนโปรดอยู่องค์หนึ่ง
ชื่อว่า เซวียเย่ไหล คืนหนึ่งโจผีทรงอ่านหนังสือในห้อง
มีเพียงแสงตะเกียงสลัวกับลับแลแก้วกั้นพระองค์ไว้
มีสนมเข้ามาในห้องเดินชน ลับแลแก้วใสจนหน้าผาก
เป็นรอยแผล เมื่อหายยังคงเหลือแผลเป็นรูปจันทร์เสี้ยว
แต่นางยังคงเป็นสนมยังที่โปรดปราน สาวชาววังนางอื่น
เห็นแล้วชอบและอยากเป็นคนโปรดของฮ่องเต้บ้าง
จึงนำชาดมาแต้มเป็นรูปจันเสี้ยวที่หน้าผากบ้าง
เรียกว่า การแต่งหน้าแบบเสี่ยวเสีย
ต่อมาในยุคหนานเป่ยเฉา รัชสมัยของพระเจ้าซ่งอู่ตี้
มีพระราชธิดาองค์โปรดชื่อว่า องค์หญิงโซ่วหยาง
วันหนึ่งทรงบรรทมใต้ต้นเหมยในอุทยานหลวง เผอิญมี
กลีบเหมยร่วงลงมาที่หน้าผาก เห็นว่าสวยดีจึงไม่ยอม
หยิบออกปล่อยอยู่อย่างถึง 3 วัน พวกสาวชาววังเห็นว่า
งดงามด้วย จึงพากันไปเด็ดกลีบเหมยมาติดที่หน้าผากบ้าง
กาลต่อมาพัฒนาเป็นแผ่นโลหะ แผ่นทอง แก้วสีบ้าง นำมา
ติดที่หน้าผาก เรียกว่า การแต่งหน้าแบบดอกเหมย
(เหมยฮัวจวง) แต่หลังจากนั้นนิยมทำเป็นรูปแบบต่างๆ
ประมาณการณ์ว่ามีถึง 10 แบบ
มีพระราชธิดาองค์โปรดชื่อว่า องค์หญิงโซ่วหยาง
วันหนึ่งทรงบรรทมใต้ต้นเหมยในอุทยานหลวง เผอิญมี
กลีบเหมยร่วงลงมาที่หน้าผาก เห็นว่าสวยดีจึงไม่ยอม
หยิบออกปล่อยอยู่อย่างถึง 3 วัน พวกสาวชาววังเห็นว่า
งดงามด้วย จึงพากันไปเด็ดกลีบเหมยมาติดที่หน้าผากบ้าง
กาลต่อมาพัฒนาเป็นแผ่นโลหะ แผ่นทอง แก้วสีบ้าง นำมา
ติดที่หน้าผาก เรียกว่า การแต่งหน้าแบบดอกเหมย
(เหมยฮัวจวง) แต่หลังจากนั้นนิยมทำเป็นรูปแบบต่างๆ
ประมาณการณ์ว่ามีถึง 10 แบบ
วิธีแต่งหน้าของสตรีสมัยถัง
เริ่มจากลงแป้งขาวทั้งหน้า ลงชาดที่แก้ม ลงสีเหลือง
ที่หน้าผาก (เรียกว่า "เอ้อหวง" (额黄) ได้รับอิทธิพล
จากพุทธศาสนา)
เขียนคิ้ว (ลักษณะของคิ้วมีหลายรูปแบบตามยุค
สมัยถังมีประมาณ16 แบบ)
แต้มชาดที่ริมฝีปาก (唇脂 ซึ่งก็มีหลายรูปแบบเช่นกัน)
วาดเส้นแดงข้างๆ จอนผม (ซึ่งก็คือ "เสียหง")
เริ่มจากลงแป้งขาวทั้งหน้า ลงชาดที่แก้ม ลงสีเหลือง
ที่หน้าผาก (เรียกว่า "เอ้อหวง" (额黄) ได้รับอิทธิพล
จากพุทธศาสนา)
เขียนคิ้ว (ลักษณะของคิ้วมีหลายรูปแบบตามยุค
สมัยถังมีประมาณ16 แบบ)
แต้มชาดที่ริมฝีปาก (唇脂 ซึ่งก็มีหลายรูปแบบเช่นกัน)
วาดเส้นแดงข้างๆ จอนผม (ซึ่งก็คือ "เสียหง")
จากนั้นติดเหมยฮัวจวงที่หน้าผาก นอกจากนี้ ยังมี
การแต้มลักยิ้มที่แก้ม นิยมใช้เครื่องแต้มสำเร็จรูปทำจาก
แผ่นหยกบางรูปนกสีเขียว แต่เดิมนั้น รูปลักยิ้มมีไว้
สำหรับนางสนมไว้ แต้มบอกฮ่องเต้ว่า นางมีระดู
แต่ต่อมากลายเป็นนิยมกันว่าสวยงาม (ข้อมูลจาก :เว็บพันทิป)
การแต้มลักยิ้มที่แก้ม นิยมใช้เครื่องแต้มสำเร็จรูปทำจาก
แผ่นหยกบางรูปนกสีเขียว แต่เดิมนั้น รูปลักยิ้มมีไว้
สำหรับนางสนมไว้ แต้มบอกฮ่องเต้ว่า นางมีระดู
แต่ต่อมากลายเป็นนิยมกันว่าสวยงาม (ข้อมูลจาก :เว็บพันทิป)
สุริยา มาดีกุล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น